คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3

ความเข้มข้นของ O 2 = 4.45 mol 10.0 L = 0.445 M คำ�นวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี r = 1 3 Δ [O 2 ] Δ t = 1 3 × 0.445 M 10 min = 1.5 × 10 -2 M min -1 5. ในการจุดเทียนหอม ความร้อนจากเปลวไฟจะทำ�ให้เนื้อเทียนเป็นของเหลว เนื้อเทียนเหลว จะเคลื่อนที่ไปตามไส้เทียนและเกิดปฏิกิริยาเผาไหม้ เกิดเป็นแสงสว่างและทำ�ให้น้ำ�มัน หอมระเหยในเนื้อเทียนฟุ้งกระจายไป หากต้องการให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลงซึ่งจะทำ�ให้จุด เทียนหอมให้สว่างและส่งกลิ่นหอมได้นานขึ้นควรทำ�อย่างไร • ตัดไส้เทียนให้สั้นลง เพื่อลดพื้นที่ผิวในการเผาไหม้ • ครอบเทียนหอมด้วยโคมเทียน เพื่อลดปริมาณออกซิเจนที่เข้ามาทำ�ปฏิกิริยาการ เผาไหม้ 6. จากการศึกษาปฏิกิริยา A(aq) + B(aq) P(aq) เมื่อทำ�การจับเวลาที่ใช้ในการเกิด สาร P ให้ได้ความเข้มข้น 0.01 โมลาร์ ได้ผลดังตาราง การ ทดลองที่ ความเข้มข้นเริ่มต้น (M) สาร X (g) อุณหภูมิ ( o C) เวลาที่ใช้ในการ เกิดปฏิกิริยา (s) A B 1 0.10 0.10 - 25 30 2 0.10 0.10 - 45 15 3 0.10 0.10 0.01 25 5 4 0.10 0.20 - 25 10 5 0.20 0.10 - 25 15 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 8 | อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เคมี เล่ม 3 119

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4