คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
5. ในกรณีที่ Fe(NO 3 ) 3 มีสารอื่นเจือปน อาจทำ� ให้สังเกตตะกอนในคอลัมน์ A ได้ไม่ชัดเจน จึง อาจเติม N aOH เพิ่มอีก 1–2 หยด เพื่อทำ�ให้สังเกตตะกอนได้ชัดเจนขึ้น 6. เตือนนักเรียนให้ใช้ปริมาณสารละลายตามที่กำ�หนด เนื่องจากปริมาณของสารในการ ทดลองนี้จะมีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 7. เตือนนักเรียนไม่ให้ใช้อุปกรณ์คนสารอันเดียวกันในการคนสารละลายแต่ละหลุม เพื่อป้องกันการปนเปื้อน ตัวอย่างผลการทำ�กิจกรรม 1. เมื่อผสม Fe(NO 3 ) 3 กับ KI ได้สารละลายสีน้ำ�ตาลแกมเหลือง และเมื่อผสม (NH 4 ) 2 Fe(SO 4 ) 2 กับ I 2 ได้สารละลายสีน้ำ�ตาลแกมเหลือง ดังรูป Fe(NO 3 ) 3 + KI (NH 4 ) 2 Fe(SO 4 ) 2 + I 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 134
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4