คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู Fe(NO 3 ) 3 ทำ�ปฏิกิริยากับ NaOH เกิดเป็นตะกอนสีน้ำ�ตาลแดง ดังสมการเคมี Fe 3+ (aq) + 3OH - (aq) Fe(OH) 3 (s) (NH 4 ) 2 Fe(SO 4 ) 2 ทำ�ปฏิกิริยากับ K 3 Fe(CN) 6 เกิดเป็นตะกอนสีน้ำ�เงิน ดังสมการเคมี Fe 2+ (aq) + Fe(CN) 6 3- (aq) Fe 3+ (aq) + [Fe(CN) 6 ] 4- (aq) 4Fe 3+ (aq) + 3[Fe(CN) 6 ] 4- (aq) Fe 4 [Fe(CN) 6 ] 3 (s) KI ทำ�ปฏิกิริยากับ AgNO 3 เกิดเป็นตะกอนสีเหลืองอ่อน ดังสมการเคมี I - (aq) + Ag + (aq) AgI(s) I 2 ทำ�ปฏิกิริยากับน้ำ�แป้งสุก เกิดเป็นสารสีน้ำ�เงินเข้ม ดังสมการเคมี I 2 (aq) + starch starch–I 2 (aq) สารประกอบเชิงซ้อน 6. ครูอธิบายเกี่ยวกับปฏิกิริยาไปข้างหน้า ปฏิกิริยาย้อนกลับและปฏิกิริยาผันกลับได้ พร้อมทั้ง ยกตัวอย่างสมการเคมีประกอบการอธิบาย จากนั้นอธิบายเกี่ยวกับสมดุลเคมีของปฏิกิริยาผันกลับได้ ในระบบปิด ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน 7. ครูให้นักเรียนตอบคำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจ 8. ครูใช้คำ�ถามนำ�ว่า ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์เมื่อเริ่มปฏิกิริยาจนกระทั่งระบบ อยู่ในสมดุลเป็นอย่างไร จากนั้นครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรม 9.3 ความเข้มข้นของสารเมื่อระบบเข้าสู่ สมดุล แล้วให้นักเรียนอภิปรายผลการทำ�กิจกรรมโดยใช้คำ�ถามท้ายกิจกรรม ตรวจสอบความเข้าใจ จากกิจกรรม 9.2 ถ้ากำ�หนดให้ปฏิกิริยาเคมี ในตอนที่ 2 เป็นปฏิกิริยาไปข้างหน้า จงเขียนสมการไอออนิกสุทธิของปฏิกิริยาย้อนกลับและปฏิกิริยาผันกลับได้ จากที่กำ�หนดให้ปฏิกิริยาไปข้างหน้า คือ 2Fe 3+ (aq) + 2I - (aq) 2Fe 2+ (aq) + I 2 (aq) ดังนั้น ปฏิกิริยาย้อนกลับ คือ 2Fe 2+ (aq) + I 2 (aq) 2Fe 3+ (aq) + 2I - (aq) และ ปฏิกิริยาผันกลับได้ คือ 2Fe 3+ (aq) + 2I - (aq) 2Fe 2+ (aq) + I 2 (aq) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 137
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4