คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
ตรวจสอบความเข้าใจ ตรวจสอบความเข้าใจ เขียนค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ในรูปอัตราส่วนความเข้มข้นของสาร 1. CO(g) + H 2 O(g) CO 2 (g) + H 2 (g) K = [CO 2 ][H 2 ] [CO][H 2 O] 2. Fe 2+ (aq) + Ag + (aq) Fe 3+ (aq) + Ag(s) K = [Fe 3+ ] [Fe 2+ ][Ag + ] 3. 2Hg(l) + O 2 (g) 2HgO(s) K = 1 [O 2 ] จากข้อมูลในตาราง 9.2 ปฏิกิริยาเคมีใดมีความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่สมดุลมากกว่า ถ้า ทั้งสองปฏิกิริยาเริ่มต้นจากสารตั้งต้นเข้มข้น 1 โมลต่อลิตร 1. H 2 (g) + Cl 2 (g) 2HCl(g) 2. 2NO(g) + O 2 (g) 2NO 2 (g) ค่าคงที่สมดุลมีค่ามากแสดงว่าที่สมดุลมีปริมาณผลิตภัณฑ์มาก ดังนั้นที่สมดุล ความเข้มข้น ของผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยา 1. จึงมีมากกว่าของปฏิกิริยา 2. 4. ครูอธิบายเกี่ยวกับการใช้ค่าคงที่สมดุลเปรียบเทียบปริมาณสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ที่สมดุล จากนั้นยกตัวอย่างค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ดังตาราง 9.2 5. ครูให้นักเรียนตอบคำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจและคำ�ถามชวนคิด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 146
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4