คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3

ตรวจสอบความเข้าใจ 1. แก๊สไนโตรเจน (N 2 ) และแก๊สไฮโดรเจน (H 2 ) ทำ�ปฏิกิริยาเคมีในภาชนะขนาด 250 มิลลิลิตร ดังสมการเคมี N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH 3 (g) ที่ 700 เคลวิน ณ สมดุล พบว่ามีแก๊สไนโตรเจน แก๊สไฮโดรเจน และแก๊สแอมโมเนีย (NH 3 ) 0.200 0.750 และ 0.400 โมล ตามลำ�ดับ ค่าคงที่สมดุลมีค่าเท่าใด คำ�นวณความเข้มข้นของสารแต่ละชนิดที่สมดุล [N 2 ] = 0.200 mol 250 mL × 1000 mL 1 L = 0.800 mol/L [H 2 ] = 0.750 mol 250 mL × 1000 mL 1 L = 3.00 mol/L จากค่าคงที่สมดุลในตาราง 9.2 สามารถเรียงลำ�ดับอัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาเคมี ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ไม่ได้ เนื่องจากค่าคงที่สมดุลเกี่ยวข้องกับปริมาณสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ใน ปฏิกิริยาเคมี ณ สมดุล ไม่ได้เป็นค่าที่เปรียบเทียบกับเวลา จึงไม่สามารถใช้เปรียบเทียบอัตรา การเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ ชวนคิด 6. ครูใช้ตัวอย่าง 4–9 อธิบายการคำ�นวณที่เกี่ยวข้องกับค่าคงที่สมดุลและความเข้มข้นของ สารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยาและที่สมดุล โดยครูควรทบทวนการคำ�นวณโดยใช้สมการ กำ�ลังสองว่า ต้องจัดรูปสมการให้อยู่ในรูป ax 2 + bx + c = 0 ซึ่งจะหาค่า x ได้จากสูตร x = - b ± b 2 – 4 ac 2 a 7. ครูให้นักเรียนตอบคำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 147

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4