คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
4. ปฏิกิริยา N 2 (g) + O 2 (g) 2NO(g) ที่อุณหภูมิ 2000 องศาเซลเซียส มีค่าคงที่สมดุล เท่ากับ 4.1 × 10 -4 ถ้าที่สมดุลมีแก๊สไนโตรเจน (N 2 ) 1.4 กรัม และแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) 0.015 กรัม ในภาชนะ 0.50 ลิตร จะมีแก๊สออกซิเจน (O 2 ) กี่กรัม คำ�นวณความเข้มข้นของ N 2 และ NO ที่สมดุล [N 2 ] = 1.4 g N 2 × 1 mol N 2 28.02 g N 2 × 1 0.50 L = 0.10 mol/L [NO] = 0.015 g NO × 1 mol NO 30.01 g NO × 1 0.50 L = 0.0010 mol/L คำ�นวณความเข้มข้นของ O 2 ที่สมดุล K = [NO] 2 [N 2 ][O 2 ] 4.1 × 10 -4 = (0.0010) 2 (0.10)[O 2 ] [O 2 ] = 0.024 mol/L คำ�นวณมวลของ O 2 ในภาชนะ 0.50 L มวลของ O 2 = 0.024 mol O 2 1 L sol n × 0.50 L sol n × 32.00 g O 2 1 mol O 2 = 0.38 g O 2 ดังนั้น ที่สมดุลมีแก๊สออกซิเจน 0.38 กรัม 5. ปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (SO 3 ) เป็นดังสมการเคมี 2SO 3 (g) 2SO 2 (g) + O 2 (g) ที่อุณหภูมิ 1000 เคลวิน เริ่มต้นบรรจุแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ 6.09 × 10 -3 โมลต่อลิตร ใน ภาชนะปิด เมื่อเวลาผ่านไปพบว่าแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ลดลงและมีความเข้มข้นคงที่ ที่ 2.44 × 10 -3 โมลต่อลิตร ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้ที่อุณหภูมิดังกล่าวมีค่าเท่าใด ความเข้มข้นเริ่มต้น ความเข้มข้นที่เปลี่ยนไป และความเข้มข้นที่สมดุล สรุปได้ดังตาราง ต่อไปนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 155
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4