คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
ความเข้มข้น (mol/L) 2SO 3 (g) 2SO 2 (g) O 2 (g) เริ่มต้น 6.09 × 10 -3 0 0 เปลี่ยนไป -(6.09 – 2.44) × 10 -3 = -3.65 × 10 -3 +3.65 × 10 -3 + 3.65 × 10 -3 2 = +1.82 × 10 -3 สมดุล 2.44 × 10 -3 3.65 × 10 -3 1.82 × 10 -3 + K = [SO 2 ] 2 [O 2 ] [SO 3 ] 2 = (3.65 × 10 -3 ) 2 (1.82 × 10 -3 ) (2.44 × 10 -3 ) 2 = 4.07 × 10 -3 ดังนั้น ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยามีค่าเท่ากับ 4.07 × 10 -3 6. ปฏิกิริยา HCOOH(aq) + CN - (aq) HCN(aq) + HCOO - (aq) ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส มีค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 4.5 × 10 5 ถ้าที่สมดุลของปฏิกิริยาเคมีระหว่าง กรดไฮโดรไซยานิก (HCN) กับฟอร์เมตไอออน (HCOO - ) ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส พบว่ามีกรดไฮโดรไซยานิกและฟอร์เมตไอออนอย่างละ 0.10 โมลต่อลิตร และกรดฟอร์มิก (HCOOH) 2.0 × 10 -4 โมลต่อลิตร ไซยาไนด์ไอออน (CN - ) มีความเข้มข้นกี่โมลต่อลิตร ปฏิกิริยาเคมีระหว่าง HCN กับ HCOO - เขียนสมการเคมีได้ดังนี้ HCN(aq) + HCOO - (aq) HCOOH(aq) + CN - (aq) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 156
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4