คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3

เนื่องจากปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาย้อนกลับของปฏิกิริยาที่กำ�หนดให้ ดังนั้นค่าคงที่ สมดุลจึงมีค่าเท่ากับ 1 4.5 × 10 5 K = [HCOOH][CN - ] [HCN][HCOO - ] 1 4.5 × 10 5 = (2.0 × 10 -4 )[CN - ] (0.10)(0.10) [CN - ] = 1.1 × 10 -4 mol/L ดังนั้น ที่สมดุล ไซยาไนด์ไอออนมีความเข้มข้น 1.1 × 10 -4 โมลต่อลิตร 7. จากค่าคงที่สมดุลที่อุณหภูมิหนึ่งของปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ C(s) + H 2 O(g) CO(g) + H 2 (g) .....(1) : K 1 = 1.60 × 10 -21 CO(g) + H 2 O(g) CO 2 (g) + H 2 (g) .....(2) : K 2 = 23.2 ปฏิกิริยารวม C(s) + 2H 2 O(g) CO 2 (g) + 2H 2 (g) 7.1 ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยารวมมีค่าเท่าใด สมการเคมีของปฏิกิริยารวมได้จากการรวมสมการเคมี (1) และ (2) ดังนั้น K = K 1 • K 2 = (1.60 × 10 -21 ) × (23.2) = 3.71 × 10 -20 ดังนั้น ปฏิกิริยารวมมีค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 3.71 × 10 -20 7.2 ถ้าที่สมดุลในภาชนะ 1 ลิตร มีคาร์บอน (C) และไอน้ำ� (H 2 O) อย่างละ 1.00 โมล และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2 ) 2.32 × 10 -7 โมล ที่สมดุลแก๊สไฮโดรเจน (H 2 ) มีความเข้มข้นกี่โมลต่อลิตร K = [CO 2 ][H 2 ] 2 [H 2 O] 2 3.71 × 10 -20 = (2.32 × 10 -7 )[H 2 ] 2 (1.00) 2 [H 2 ] = 4.00 × 10 -7 mol/L ดังนั้น ที่สมดุล แก๊สไฮโดรเจนมีความเข้มข้น 4.00 × 10 -7 โมลต่อลิตร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 157

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4