คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3

คำ�นวนค่าคงที่สมดุุลของปฏิกิริยา (3) ปฏิกิริยา (3) : A 2 (g) + 2B 2 (g) 2AB 2 (g) ความเข้มข้นเริ่มต้น ความเข้มข้นที่เปลี่ยนไป และความเข้มข้นที่สมดุล สรุปได้ดังตาราง ต่อไปนี้ K 3 = [AB 2 ] 2 [A 2 ][B 2 ] 2 = (0.50) 2 (0.75)(0.50) 2 = 1.3 ดังนั้น ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา (3) เท่ากับ 1.3 คำ�นวนค่าคงที่สมดุุลของปฏิกิริยา (1) ปฏิกิริยา (1) : A 2 (g) + B 2 (g) 2AB(g) เนื่องจากปฏิกิริยา (3) เป็นปฏิกิริยารวมของปฏิกิริยา (1) และ (2) นั่นคือ K 3 = K 1 • K 2 K 1 = K 3 K 2 = 1.3 1.3 = 1.0 ดังนั้น ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา (1) เท่ากับ 1.0 ความเข้มข้น (mol/L) A 2 (g) 2B 2 (g) 2AB 2 (g) เริ่มต้น 1.00 mol 1.00 L = 1.00 1.00 mol 1.00 L = 1.00 0.00 เปลี่ยนไป -0.25 -0.50 +0.50 สมดุล 1.00 – 0.25 = 0.75 1.00 – 0.50 = 0.50 0.50 mol 1.00 L = 0.50 + สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 186

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4