คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3

คำ�นวณความดันของแก๊ส C ที่สมดุล PV = nRT P = n V RT เมื่อ n V = ความเข้มข้น = (0.28 mol/L)(0.0821 L • atm • mol -1 • K -1 )(300 K) = 6.9 atm ดังนั้น ที่สมดุลแก๊ส C มีความดัน 6.9 บรรยากาศ 4. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแอซีติก (CH 3 CO 2 H) และเอทานอล (CH 3 CH 2 OH) ได้เอทิลแอซีเตต (CH 3 CO 2 CH 2 CH 3 ) และน้ำ� ดังสมการเคมี CH 3 CO 2 H(l) + CH 3 CH 2 OH(l) CH 3 CO 2 CH 2 CH 3 (l) + H 2 O(l) เนื่องจากสารแต่ละชนิดละลายเป็นเนื้อเดียวกัน และสารทุกชนิดมีการเปลี่ยนแปลง ความเข้มข้นจนเข้าสู่สมดุล จึงเขียนค่าคงที่สมดุลได้ดังนี้ K = [CH 3 CO 2 CH 2 CH 3 ][H 2 O] [CH 3 CO 2 H][CH 3 CH 2 OH] = 4 ถ้าที่สมดุลต้องการให้มีเอทิลแอซีเตต 4 โมล ต้องใช้กรดแอซีติกและเอทานอลอย่างละกี่โมล กำ�หนดให้กรดแอซีติกและเอทานอลที่สมดุลมีความเข้มข้นเท่ากัน และปริมาตรของ ของผสมคงที่ ที่สมดุลมี CH 3 CO 2 CH 2 CH 3 4 mol ดังนั้นจึงเกิด H 2 O 4 mol ด้วย กำ�หนดให้ใช้ CH 3 CO 2 H และ CH 3 CH 2 OH อย่างละ x mol นำ�มาคำ�นวณ x ได้ดังนี้ K = [CH 3 CO 2 CH 2 CH 3 ][H 2 O] [CH 3 CO 2 H][CH 3 CH 2 OH] 4 V × 4 V x = 2 นั่นคือ ที่สมดุลมี CH 3 CO 2 H และ CH 3 CH 2 OH อย่างละ 2 โมล x V × x V 4 = เมื่อ V คือ ปริมาตรของสารละลายทั้งหมด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 189

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4