คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3

คำ�นวณความเข้มข้นของ B เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ A เมื่อรบกวนสมดุลโดยการเพิ่มความเข้มข้นของ A ระบบจะปรับตัวไปในทิศทางที่ลด A จึง กำ�หนดให้ Δ [A] = - x mol/L ดังนั้น Δ [B] = Δ [C] = + x mol/L ซึ่งนำ�ไปคำ�นวณความเข้มข้น ที่สมดุลได้ดังตาราง K = [B][C] [A] 0.80 = (0.40 + x ) (0.40 + x ) (0.40 – x ) x 2 + 1.6 x – 0.16 = 0 x = -1.7 หรือ 0.094 เนื่องจากค่า x เท่ากับ -1.7 แสดงว่าความเข้มข้นของ A ที่เปลี่ยนแปลงมีค่ามากกว่า ความเข้มข้นเริ่มต้น ซึ่งเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น x จึงมีค่าเท่ากับ 0.094 นั่นคือ ที่สมดุลใหม่มี [B] = 0.40 mol/L + 0.094 mol/L = 0.49 mol/L คำ�นวณความเข้มข้นของ B เมื่อลดความเข้มข้นของ C เมื่อรบกวนสมดุลโดยการลดความเข้มข้นของ C ระบบจะปรับตัวไปในทิศทางที่เพิ่ม C จึง กำ�หนดให้ Δ [C] = + x mol/L ดังนั้น Δ [A] = - x mol/L และ Δ [B] = + x mol/L ซึ่งนำ�ไปคำ�นวณ ความเข้มข้นที่สมดุลได้ดังตาราง ความเข้มข้น (mol/L) A(aq) B(aq) C(aq) สมดุลเดิม 0.20 0.40 0.40 เพิ่ม A 0.40 0.40 0.40 เปลี่ยนแปลง - x + x + x สมดุลใหม่ 0.40 – x 0.40 + x 0.40 + x + สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 192

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4