คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
K = [B][C] [A] 0.80 = (0.40 + x ) (0.20 + x ) (0.20 – x ) x 2 + 1.4 x – 0.08 = 0 x = 0.055 หรือ -1.5 เนื่องจากค่า x เท่ากับ -1.5 แสดงว่าความเข้มข้นของ A ที่เปลี่ยนแปลงมีค่ามากกว่า ความเข้มข้นเริ่มต้น ซึ่งเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น x จึงค่าเท่ากับ 0.055 นั่นคือ ที่สมดุลใหม่มี [B] = 0.40 mol/L + 0.055 mol/L = 0.46 mol/L ดังนั้น ความเข้มข้นของ B ที่สมดุลใหม่ เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ A อีก 0.20 โมลต่อลิตร มีค่ามากกว่าเมื่อลดความเข้มข้นของ C ลง 0.20 โมลต่อลิตร 7. ในอุตสาหกรรมมีการใช้ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สมีเทน (CH 4 ) กับไอน้ำ� (H 2 O) ในการผลิต แก๊สไฮโดรเจน (H 2 ) ดังสมการเคมี CH 4 (g) + H 2 O(g) + พลังงาน CO(g) + 3H 2 (g) การปรับเปลี่ยนภาวะในการทำ�ปฏิกิริยาต่อไปนี้ จะมีผลต่อปริมาณของแก๊สไฮโดรเจนที่ สมดุลอย่างไร 7.1 เพิ่มความดัน เมื่อเพิ่มความดัน ระบบจะปรับตัวเพื่อลดความดันโดยเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ เนื่องจาก ผลรวมของเลขสัมประสิทธิ์ของแก๊สที่เป็นผลิตภัณฑ์มากกว่าของสารตั้งต้น จึงทำ�ให้ ปริมาณของแก๊ส H 2 ที่สมดุลลดลง ความเข้มข้น (mol/L) A(aq) B(aq) C(aq) สมดุลเดิม 0.20 0.40 0.40 ลด C 0.20 0.40 0.20 เปลี่ยนแปลง - x + x + x สมดุลใหม่ 0.20 – x 0.40 + x 0.20 + x + สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 193
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4