คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
เมื่อ m คือ มวลของอากาศ และ M คือ มวลต่อโมลของอากาศ แทนค่าจะได้ PV = m M RT PM RT = m V และเนื่องจาก m V = d เมื่อ d แทน ความหนาแน่น ดังนั้น d = PM RT อัตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของอากาศที่ระดับความสูง 10 กิโลเมตร และระดับ นํ้าทะเล เป็นดังนี้ d 10 km d ระดับน้ำ�ทะเล = P 10 km M อากาศ / RT 10 km P ระดับน้ำ�ทะเล M อากาศ / RT ระดับน้ำ�ทะเล d 10 km d ระดับน้ำ�ทะเล = P 10 km T ระดับน้ำ�ทะเล P ระดับน้ำ�ทะเล T 10 km d 10 km = d ระดับน้ำ�ทะเล × P 10 km T ระดับน้ำ�ทะเล P ระดับน้ำ�ทะเล T 10 km = 1.2 kg/m 3 × (0.26 atm)(15 + 273 K) (1.00 atm)(-50 + 273 K) = 0.40 kg/m 3 ดังนั้น ความหนาแน่นของอากาศที่ระดับความสูง 10 กิโลเมตรเท่ากับ 0.40 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 7 | แก๊สและสมบัติของแก๊ส เคมี เล่ม 3 36
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4