คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
P Ne = n Ne RT V Ne = (1.506 mol)(0.0821 L • atm/mol • K)(27 + 273 K) 4.00 L = 9.27 atm คำ�นวณความดันของ He จำ�นวนโมลของ He = 2.00 g × 1 mol 4.00 g = 0.500 mol จาก PV = nRT P He = n He RT V He = (0.500 mol)(0.0821 L • atm/mol • K)(27 + 273 K) 1.00 L = 12.3 atm ดังนั้น แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สฮีเลียมมีความดัน 12.3 บรรยากาศ ส่วนแก๊สนีออนมี ความดัน 9.27 บรรยากาศ 3.2 เมื่อเปิดวาล์ว 1 และ 2 ความดันของแก๊สผสมเป็นเท่าใด ปริมาตรของแก๊สผสมเมื่อเปิดวาล์ว 1 และ 2 = 2.00 + 4.00 + 1.00 = 7.00 ลิตร คำ�นวณจำ�นวนโมลรวมของแก๊สผสม n total = n H ₂ + n Ne + n H e = 1.00 + 1.506 + 0.500 = 3.01 mol คำ�นวณความดันของแก๊สผสม จาก P total = n total RT V แทนค่าได้ P total = (3.01 mol)(0.0821 L • atm/mol • K)(27 + 273 K) (7.00 L) = 10.6 atm ดังนั้น แก๊สผสมมีความดัน 10.6 บรรยากาศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 7 | แก๊สและสมบัติของแก๊ส เคมี เล่ม 3 38
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4