คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
พิจารณาสารกำ�หนดปริมาณจากสมการเคมีของปฏิกิริยารวม จำ�นวนโมล CuFeS 2 n CuFeS 2 = m CuFeS 2 M CuFeS 2 = 1.00 kg 183.52 g/mol × 1000 g 1 kg = 5.45 mol จำ�นวนโมล O 2 n O 2 = m O 2 M O 2 = 448.0 g 32.00 g/mol = 14.00 mol ดังนั้น CuFeS 2 เป็นสารกำ�หนดปริมาณ คำ�นวณจำ�นวนโมลรวมของแก๊สในภาชนะ n รวม = n O 2 ที่เหลือ + n SO 2 ที่เกิดขึ้น = ( n O 2 เริ่มต้น – ( n CuFeS 2 × 5 mol O 2 2 mol CuFeS 2 )) + ( n CuFeS 2 × 4 mol SO 2 2 mol CuFeS 2 ) = (14.00 mol O 2 – (5.45 mol CuFeS 2 × 5 mol O 2 2 mol CuFeS 2 ) + (5.45 mol CuFeS 2 × 4 mol SO 2 2 mol CuFeS 2 ) = 0.4 mol O 2 + 10.9 mol SO 2 = 11.3 mol คำ�นวณความดันรวมของแก๊สผสม P total = n total RT V = (11.3 mol)(0.0821 L • atm/mol • K)(2000 + 273 K) 10.0 L = 211 atm ดังนั้น ภาชนะที่ใช้ในการทำ�ปฏิกิริยาต้องทนแรงดันของแก๊สได้อย่างน้อย 211 บรรยากาศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 7 | แก๊สและสมบัติของแก๊ส เคมี เล่ม 3 60
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4