คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
เนื่องจากมี O 2 = 8.01 mol ดังนั้น C 2 H 2 เป็นสารกำ�หนดปริมาณ คำ�นวณจำ�นวนโมลรวมของแก๊สในภาชนะ n รวม = n O 2 ที่เหลือ + n CO 2 ที่เกิดขึ้น + n H 2 O ที่เกิดขึ้น = ( n O 2 เริ่มต้น – n O 2 ทำ�ปฏิกิริยา ) + ( n C 2 H 2 × 4 mol CO 2 2 mol C 2 H 2 ) + ( n C 2 H 2 × 2 mol H 2 O 2 mol C 2 H 2 ) = (8.01 mol O 2 – 7.50 mol O 2 ) + (3.00 mol C 2 H 2 × 4 mol CO 2 2 mol C 2 H 2 ) + (3.00 mol C 2 H 2 × 2 mol H 2 O 2 mol C 2 H 2 ) = 0.51 mol O 2 + 6.00 mol CO 2 + 3.00 mol H 2 O = 9.51 mol คำ�นวณความดันรวมของแก๊สผสม P total = n total RT V = (9.51 mol)(0.0821 L • atm/mol • K)(300 + 273 K) 11.00 L = 40.7 atm คำ�นวณความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด จาก P i = X i P total คำ�นวณความดันย่อยของ O 2 P O 2 = X O 2 P total = n O 2 n total P total = 0.51 9.51 × 40.7 atm = 2.2 atm สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 7 | แก๊สและสมบัติของแก๊ส เคมี เล่ม 3 64
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4