คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3
1. ดุลสมการเคมีต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1.1 CH 4 (g) + O 2 (g) CO 2 (g) + H 2 O(l) CH 4 (g) + 2O 2 (g) CO 2 (g) + 2H 2 O(l) 1.2 NO 2 (g) NO(g) + O 2 (g) 2NO 2 (g) 2NO(g) + O 2 (g) 1.3 NO(g) + NO 3 (g) NO 2 (g) NO(g) + NO 3 (g) 2NO 2 (g) 1.4 HCl(aq) + CaCO 3 (s) CaCl 2 (aq) + H 2 O(l) + CO 2 (g) 2HCl(aq) + CaCO 3 (s) CaCl 2 (aq) + H 2 O(l) + CO 2 (g) 2. จากสมการเคมี Pb(NO 3 ) 2 (aq) + 2KI (aq) PbI 2 ( s ) + 2KNO 3 (aq) จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้ 2.1 เมื่อผสม Pb(NO 3 ) 2 กับ KI จะสังเกตได้อย่างไรว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น สังเกตได้จากมีตะกอน PbI 2 เกิดขึ้น 2.2 ในขณะที่มี PbI 2 เกิดขึ้น 4.61 กรัม ปริมาณ KI จะลดลงกี่โมล ปริมาณ KI ที่ลดลง = 4.61 g PbI 2 × 1 mol PbI 2 461.00 g PbI 2 × 2 mol KI 1 mol PbI 2 = 2.00 × 10 -2 mol KI ดังนั้น KI จะลดลง 2.00 × 10 -2 โมล 2.3 จากข้อ 2.2 ถ้าเริ่มต้นปฏิกิริยา KI มีความเข้มข้น 1.00 โมลต่อลิตร ในสารละลายผสม ปริมาตร 100 มิลลิลิตร ความเข้มข้นของ KI ที่เหลือเป็นเท่าใด ปริมาณ KI เริ่มต้น = 1.00 mol KI 1000 mL sol n × 100 mL sol n = 1.00 × 10 -1 mol KI ปริมาณ KI ที่เหลือ = 1.00 × 10 -1 mol – 2.00 × 10 -2 mol = 8.00 × 10 -2 mol ตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 8 | อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เคมี เล่ม 3 72
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4