คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3

ตรวจสอบความเข้าใจ 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ขณะหนึ่งแตกต่างกันอย่างไร แตกต่างกัน คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารในช่วงเวลา ต่าง ๆ จากจุดเริ่มต้นจนถึงจุดสิ้นสุดในช่วงเวลาที่กำ�หนด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ขณะหนึ่ง เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร ที่เวลาใดเวลาหนึ่ง 2. โลหะสังกะสีทำ�ปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ได้ปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน ที่ STP ณ เวลาต่าง ๆ ดังตาราง 2.1 เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สกับเวลา 2.2 เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น Zn(s) + 2HCl(aq) H 2 (g) + ZnCl 2 (aq) 18 คู่มือครูร่าง 1 สสวท. สงวนสิทธิ์ ห้ามเผยแพร่ ตรวจสอบความเข้าใจ 1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ขณะหนึ่ง แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร แตกต่างกัน คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ สารในช่วงเวลาต่าง ๆ จากจุดเริ่มต้นจนถึงจุดสิ้นสุดในช่วงเวลาที่กาหนด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ขณะหนึ่ง เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลง ปริมาณของสารที่เวลาใดเวลาหนึ่ง 2 โลหะสังกะสีทาปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ได้ปริมาตรของแก๊ส ไฮโดรเจนที่ STP ณ เวลาต่าง ๆ ดังตาราง เวลา (s) 10 20 30 40 50 60 70 80 ปริมาตร H 2 (mL) 25 45 60 70 75 78 80 80 2.1 เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สกับเวลา 2.2 เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น Zn(s) + 2HCl(aq) H 2 (g) + ZnCl 2 (aq) เวลา (s) 10 20 30 40 50 60 70 80 ปริมาตร H₂ (mL) 25 45 60 70 75 78 80 80 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 8 | อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เคมี เล่ม 3 83

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4