คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

2.2 สารละลายเมทานอล (CH 4 O) ในน้ำ�เข้มข้น 1.50 โมแลล K f ของน้ำ� = 1.86 ° C/ m จุดเยือกแข็งของน้ำ� = 0.00 ° C Δ T f = K f m T f(H 2 O) – T f(sol n ) = 1.86 ° C/ m × 1.50 m 0.00 ° C – T f(sol n ) = 2.79 ° C T f(sol n ) = 0.00 ° C – 2.79 ° C = -2.79 ° C ดังนั้น สารละลายเมทานอลในน้ำ�เข้มข้น 1.50 โมแลล มีจุดเยือกแข็ง -2.79 องศา เซลเซียส 2.3 สารละลายแนฟทาลีน (C 10 H 8 ) 1.00 กรัม ในไซโคลเฮกเซน (C 6 H 12 ) 25.0 กรัม มวลต่อโมลของ C 10 H 8 = 128.18 g/mol ความเข้มข้นของสารละลาย = 1.00 g C 10 H 8 25.0 g C 6 H 12 × 1 mol C 10 H 8 128.18 g C 10 H 8 × 1000 g C 6 H 12 1.00 kg C 6 H 12 = 0.312 mol C 10 H 8 /kg C 6 H 12 หรือ 0.312 m K f ของ C 6 H 12 = 20.80 ° C/ m จุดเยือกแข็งของ C 6 H 12 = 6.59 ° C Δ T f = K f m T f(cyclohexane) – T f(sol n ) = 20.80 ° C/ m × 0.312 m 6.59 o C – T f(sol n ) = 6.49 ° C T f(sol n ) = 6.59 ° C – 6.49 ° C = 0.10 ° C ดังนั้น สารละลายแนฟทาลีน 1.00 กรัม ในไซโคลเฮกเซน 25.0 กรัม มี จุดเยือกแข็ง 0.10 องศาเซลเซียส 2.4 สารละลายกรดเบนโซอิก (C 7 H 6 O 2 ) 0.00250 โมล ในน้ำ� 200 กรัม ความเข้มข้นของสารละลาย = 0.00250 mol C 7 H 6 O 2 200 g H 2 O × 1000 g H 2 O 1 kg H 2 O = 0.0125 mol C 7 H 6 O 2 /kg H 2 O หรือ 0.0125 m สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 101

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4