คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
10. ตัวทำ�ละลาย A มีจุดเดือดเท่ากับ 72.00 องศาเซลเซียส เมื่อละลายแนฟทาลีน (C 10 H 8 ) จำ�นวน 128.18 กรัม ลงไปในตัวทำ�ละลาย A จำ�นวน 1.25 กิโลกรัม พบว่าสารละลาย ที่ได้มีจุดเดือด 73.92 องศาเซลเซียส จงคำ�นวณจุดเดือดของสารละลาย เมื่อเติม แนฟทาลีน (C 10 H 8 ) จำ�นวน 500.00 กรัม ลงไปในตัวทำ�ละลาย A 10.00 กิโลกรัม ขั้นที่ 1 คำ�นวณ K b ของตัวทำ�ละลาย A มวลต่อโมลของ C 10 H 8 = 128.18 g/mol Δ T b = K b m T b(sol n ) – T b(A) = K b × 128.18 g C 10 H 8 1.25 kg A × 1 mol C 10 H 8 128.18 g C 10 H 8 73.92 ° C – 72.00 ° C = K b × 0.800 m K b = 2.40 ° C/m ขั้นที่ 2 คำ�นวณจุดเดือดของสารละลาย เติม C 10 H 8 จำ�นวน 500.00 g ลงไปในตัวทำ�ละลาย A 10.00 kg Δ T b = K b m T b(sol n ) – 72.00 ° C = 2.40 ° C 1 mol/kg × 500.00 g C 10 H 8 10.00 kg A × 1 mol C 10 H 8 128.18 g C 10 H 8 T b(sol n ) = 72.94 ° C ดังนั้น จุดเดือดของสารละลายเท่ากับ 72.94 องศาเซลเซียส สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 110
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4