คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

4.2 BaF 2 (aq) + K 3 PO 4 (aq) Ba 3 (PO 4 ) 2 (s) + KF(aq) 3BaF 2 (aq) + 2K 3 PO 4 (aq) Ba 3 (PO 4 ) 2 (s) + 6KF(aq) อัตราส่วนโดยโมลของ BaF 2 : K 3 PO 4 : Ba 3 (PO 4 ) 2 : KF = 3 : 2 : 1 : 6 4.3 NaOH(aq) + NO 2 (g) + O 2 (g) NaNO 3 (aq) + H 2 O(l) 4NaOH(aq) + 4NO 2 (g) + O 2 (g) 4NaNO 3 (aq) + 2H 2 O(l) อัตราส่วนโดยโมลของ NaOH : NO 2 : O 2 : NaNO 3 : H 2 O = 4 : 4 : 1 : 4 : 2 5. ซิลเวอร์คลอไรด์มีโลหะเงินเป็นองค์ประกอบร้อยละ 75.24 โดยมวล นำ�โลหะเงินจำ�นวน 10.00 กรัม มาทำ�ปฏิกิริยาในภาชนะปิดที่มีแก๊สคลอรีน เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดพบว่าเกิด ซิลเวอร์คลอไรด์จำ�นวน 6.45 กรัม เหลือโลหะเงิน 5.15 กรัม และไม่มีแก๊สคลอรีนเหลือ อยู่ในระบบ ในตอนเริ่มต้นปฏิกิริยามีแก๊สคลอรีนอยู่ในระบบกี่กรัม ใช้โลหะเงินไป 10.00 g – 5.15 g = 4.85 g จากกฎทรงมวล มวลของสารก่อนทำ�ปฏิกิริยา = มวลของสารหลังทำ�ปฏิกิริยา มวลของ Ag + มวลของ Cl 2 = มวลของ AgCl 4.85 g + มวลของ Cl 2 = 6.45 g มวลของ Cl 2 = 6.45 g – 4.85 g = 1.60 g ดังนั้น ในตอนเริ่มต้นปฏิกิริยามีแก๊สคลอรีนอยู่ในระบบ 1.60 กรัม 1. ดุลสมการเคมีต่อไปนี้ 1.1 Zn(s) + HClO 4 (aq) Zn(ClO 4 ) 2 (aq) + H 2 (g) Zn(s) + 2HClO 2 (aq) Zn(ClO 4 ) 2 (aq) + H 2 (g) 1.2 KMnO 4 (s) K 2 MnO 4 (s) + MnO 2 (s) + O 2 (g) 2KMnO 4 (s) K 2 MnO 4 (s) + MnO 2 (s) + O 2 (g) แบบฝึกหัด 6.1 เพิ่มเติม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 129

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4