คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

1.3 Cu(s) + HNO 3 (aq) Cu(NO 3 ) 2 (aq) + NO(g) + H 2 O(l) 3Cu(s) + 8HNO 3 (aq) 3Cu(NO 3 ) 2 (aq) + 2NO(g) + 4H 2 O(l) 1.4 Al(s) + H 2 O(l) Al 2 O 3 (s) + H 2 (g) 2Al(s) + 3H 2 O(l) Al 2 O 3 (s) + 3H 2 (g) 1.5 Al(s) + H 2 SO 4 (aq) Al 2 (SO 4 ) 3 (aq) + H 2 (g) 2Al(s) + 3H 2 SO 4 (aq) Al 2 (SO 4 ) 3 (aq) + 3H 2 (g) 1.6 NH 3 (g) + NO(g) N 2 (g) + H 2 O(g) 4NH 3 (g) + 6NO(g) 5N 2 (g) + 6H 2 O(g) 1.7 K 2 Cr 2 O 7 (aq) + H 2 SO 4 (aq) KHSO 4 (aq) + Cr 2 (SO 4 ) 3 (aq) + H 2 O(l) + O 2 (g) 2K 2 Cr 2 O 7 (aq) + 10H 2 SO 4 (aq) 4KHSO 4 (aq) + 2Cr 2 (SO 4 ) 3 (aq) + 8H 2 O(l) + 3O 2 (g) 1.8 KMnO 4 (aq) + H 2 SO 4 (aq) + H 2 O 2 (aq) K 2 SO 4 (aq) + MnSO 4 (aq) + H 2 O(l) + 5O 2 (g) 2KMnO 4 (aq) + 3H 2 SO 4 (aq) + 5H 2 O 2 (aq) K 2 SO 4 (aq) + 2MnSO 4 (aq) + 8H 2 O(l) + 5O 2 (g) 2. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 8.4 กรัม ทำ�ปฏิกิริยากับสารละลายกรดแอซีติก (CH 3 COOH) 20.0 กรัม ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้น หลังจากที่ปฏิกิริยาสิ้นสุด ปรากฏว่ามีสารเหลืออยู่ 24.0 กรัม แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นมีมวลกี่กรัม จากกฎทรงมวล มวลของสารก่อนทำ�ปฏิกิริยา = มวลของสารหลังทำ�ปฏิกิริยา มวลของ NaHCO 3 + มวลของ CH 3 COOH = มวลของสารที่เหลือ + มวลของ CO 2 8.4 g + 20.0 g = 24.0 g + มวลของ CO 2 มวลของ CO 2 = 8.4 g + 20.0 g – 24.0 g = 4.4 g ดังนั้น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นมีมวล 4.4 กรัม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 130

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4