คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

เติมค่าในช่องว่างต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ 2SO 2 (g) + O 2 (g) 2SO 3 (g) FeCl 3 (aq) + 3NaOH(aq) Fe(OH) 3 (s) + 3NaCl(aq) 1 mol + 3 mol 1 mol + 3 mol 162.20 g + 120.00 g 106.88 g + 175.32 g 1 mol/L + 3 mol/L 1 mol/L + 3 mol/L 6.02 × 10 23 + 3(6.02 × 10 23 ) 6.02 × 10 23 + 3(6.02 × 10 23 ) 2 mol + 1 mol 2 mol 128.12 g + 32.00 g 160.12 g 2(22.4 L) + 22.4 L 2(22.4 L) 2(6.02 × 10 23 ) + 6.02 × 10 23 2(6.02 × 10 23 ) จำ�นวนโมล จำ�นวนโมล มวล มวล ปริมาตรที่ STP ความเข้มข้น จำ�นวนอนุภาค molecule molecule molecule formula unit formula unit formula unit formula unit จำ�นวนอนุภาค 21. ครูให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 6.4 เพื่อทบทวนความรู้ 22. ครูให้ความรู้ว่าปฏิกิริยาเคมีบางชนิดมีหลายขั้นตอน จึงมีสมการเคมีที่เกี่ยวข้องหลาย สมการ จากนั้นครูยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีของการถลุงโลหะสังกะสี พร้อมแสดงสมการเคมีที่ เกี่ยวข้องประกอบการอธิบาย ดังนี้ 2C(s) + O 2 (g) 2CO(g) .....(1) ZnO(s) + CO(g) Zn(s) + CO 2 (g) …..(2) ครูตั้งคำ�ถามว่า สมการเคมีทั้งสองมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร ซึ่งควรตอบได้ว่า ในสมการเคมีทั้งสอง มีแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นตัวร่วมของทั้งสองสมการ โดยเป็นผลิตภัณฑ์ในสมการ (1) และ เป็นสารตั้งต้นในสมการ (2) จากนั้นครูอธิบายเกี่ยวกับวิธีการรวมสมการเคมี ซึ่งต้องทำ�ให้ตัวร่วมของ ทั้งสองสมการเท่ากัน แล้วนำ�ไปหักล้างกัน ได้สมการเคมีรวมดังนี้ 2C(s) + O 2 (g) + 2ZnO(s) 2Zn(s) + 2CO 2 (g) ตรวจสอบความเข้าใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 142

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4