คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

1.2 มวลของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ เมื่อต้องการโพแทสเซียมคลอไรด์ 0.450 โมล มวลของ KOH = 0.450 mol KCl × × = 30.3 g KOH ดังนั้น ต้องใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 30.3 กรัม 2. การผลิตกรดฟอสฟอริก (H 3 PO 4 ) เพื่อการค้าจะใช้ปฏิกิริยาเคมีดังสมการ Ca 3 (PO 4 ) 2 (s) + 3H 2 SO 4 (aq) + 6H 2 O(l) 3CaSO 4 ⋅ 2H 2 O(s) + 2H 3 PO 4 (aq) จงคำ�นวณมวลของกรดซัลฟิวริกเข้มข้น ที่ต้องใช้ทำ�ปฏิกิริยาพอดีกับแคลเซียมฟอสเฟต 100.0 กรัม มวลของ H 2 SO 4 = 100.0 g Ca 3 (PO 4 ) 2 × 1 mol Ca 3 (PO 4 ) 2 310.18 g Ca 3 (PO 4 ) 2 × 3 mol H 2 SO 4 1 mol Ca 3 (PO 4 ) 2 × 98.08 g H 2 SO 4 1 mol H 2 SO 4 = 94.86 g H 2 SO 4 ดังนั้น ต้องใช้กรดซัลฟิวริกเข้มข้น 94.86 กรัม 3. แอสไพริน (C 9 H 8 O 4 ) สังเคราะห์ได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดซาลิซิลิก (C 7 H 6 O 3 ) และ แอซีติกแอนไฮไดรด์ (C 4 H 6 O 3 ) ดังสมการ C 7 H 6 O 3 (s) + C 4 H 6 O 3 (l) C 9 H 8 O 4 (s) + C 2 H 4 O 2 (l) ถ้าใช้กรดซาลิซิลิก 5.00 × 10 2 กรัม จงคำ�นวณ 3.1 มวลของแอสไพรินที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมี มวลของ C 9 H 8 O 4 = 5.00 × 10 2 g C 7 H 6 O 3 × 1 mol C 7 H 6 O 3 138.13 g C 7 H 6 O 3 × 1 mol C 9 H 8 O 4 1 mol C 7 H 6 O 3 × 180.17 g C 9 H 8 O 4 1 mol C 9 H 8 O 4 = 652 g C 9 H 8 O 4 ดังนั้น มีแอสไพรินเกิดขึ้น 652 กรัม 6 mol KOH 5 mol KCl 56.11 g KOH 1 mol KOH สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 144

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4