คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
4. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะทองแดงและสารละลายซิลเวอร์ไนเทรต เขียนแสดงได้ ดังนี้(สมการเคมียังไม่ดุล) Cu(s) + AgNO 3 (aq) Ag(s) + Cu(NO 3 ) 2 (aq) ถ้าใช้สารละลายซิลเวอร์ไนเทรตเข้มข้น 2.50 โมลต่อลิตร ปริมาตร 5.0 ลิตร ทำ�ปฏิกิริยา พอดีกับโลหะทองแดง จะได้โลหะเงินกี่กิโลกรัม ดุลสมการเคมีได้ดังนี้ Cu(s) + 2AgNO 3 (aq) 2Ag(s) + Cu(NO 3 ) 2 (aq) มวลของ Ag = 5.0 L AgNO 3 sol n × × × × = 1.3 kg Ag ดังนั้น ได้โลหะเงิน 1.3 กิโลกรัม 2.50 mol AgNO 3 1 L AgNO 3 sol n 2 mol Ag 2 mol AgNO 3 107.87 g Ag 1 mol Ag 1 kg Ag 1000 g Ag 1. ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน เมื่อนำ�แก๊สไฮโดรเจน 100 มิลลิลิตร ทำ�ปฏิกิริยากับแก๊ส ออกซิเจน 85 มิลลิลิตร ได้ไอน้ำ� ไอน้ำ�ที่เกิดขึ้นและแก๊สออกซิเจนที่เหลือมีปริมาตรกี่ มิลลิลิตร เขียนสมการเคมีได้ดังนี้ 2H 2 (g) + O 2 (g) 2H 2 O(g) อัตราส่วนโดยปริมาตร 2 1 2 ปริมาตรของ H 2 O = 100 mL H 2 × = 100 mL H 2 O ดังนั้น มีไอน้ำ�เกิดขึ้น 100 มิลลิลิตร ปริมาตรของ O 2 = 100 mL H 2 × = 50 mL O 2 2 mL H 2 O 2 mL H 2 1 mL O 2 2 mL H 2 แบบฝึกหัด 6.4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 148
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4