คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

ขั้นที่ 1 หาสารกำ�หนดปริมาณ มวลของ H 2 S = 5.00 g SO 2 × × × = 5.32 g H 2 S นั่นคือ เมื่อใช้ SO 2 5.00 กรัม จะต้องใช้ H 2 S 5.32 กรัม แต่มี H 2 S 5.00 กรัม เแสดง ว่า H 2 S เป็นสารกำ�หนดปริมาณ ขั้นที่ 2 หามวลของ SO 2 มวลของ SO 2 = 5.00 g H 2 S × × × = 4.70 g SO 2 นั่นคือ เมื่อใช้ H 2 S 5.00 กรัม จะต้องใช้ SO 2 4.70 กรัม ดังนั้น เหลือแก๊สซัลเฟอร์ได- ออกไซด์ 5.00 g – 4.70 g = 0.30 g 3. ถ้านำ�แก๊สไฮโดรเจน 30.0 ลิตร มาทำ�ปฏิกิริยากับแก๊สไนโตรเจน 20.0 ลิตร จะเกิดแก๊ส แอมโมเนีย (NH 3 ) มากที่สุดกี่โมล ที่ STP เขียนและดุลสมการเคมี 3H 2 (g) + N 2 (g) 2NH 3 (g) ขั้นที่ 1 หาสารกำ�หนดปริมาณ ปริมาตรของ N 2 = 30.0 L H 2 × 1 L N 2 3 L H 2 = 10.0 L N 2 นั่นคือ ถ้าใช้ H 2 30.0 ลิตร จะต้องใช้ N 2 10.0 ลิตร และมี N 2 20.0 ลิตร ดังนั้น H 2 เป็น สารกำ�หนดปริมาณ 1 mol SO 2 64.06 g SO 2 1 mol H 2 S 34.08 g H 2 S 2 mol H 2 S 1 mol SO 2 1 mol SO 2 2 mol H 2 S 34.08 g H 2 S 1 mol H 2 S 64.06 g SO 2 1 mol SO 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 163

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4