คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
4.2 เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดจะได้สารละลายโซเดียมคลอไรด์กี่โมลต่อลิตร ปริมาตรของสารละลายหลังผสมกัน = 25.0 mL + 40.0 mL = 65.0 mL ความเข้มข้นของสารละลาย NaCl = 0.0320 mol NaOH × × × = 0.492 mol NaCl/L sol n ดังนั้น สารละลายเกลือแกงมีความเข้มข้น 0.492 โมลต่อลิตร 4.3 เมื่อทดสอบสารละลายหลังสิ้นสุดปฏิกิริยากับกระดาษลิตมัสสีแดงและน้ำ�เงิน มีการ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร จากข้อ 4.1 สารกำ�หนดปริมาณคือ NaOH แสดงว่าเหลือ HCl ซึ่งมีสมบัติเป็น กรด ดังนั้น เมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสสีแดงจะไม่เปลี่ยนสี แต่จะเปลี่ยนสีกระดาษ ลิตมัสสีน้ำ�เงินเป็นแดง 1 mol NaCl 1 mol NaOH 1 65.0 mL sol n 1000 mL sol n 1 L sol n 1. เมื่อนำ�ผงอะลูมิเนียมจำ�นวน 0.150 กรัม ทำ�ปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนจำ�นวน 1.00 กรัม จะ มีอะลูมิเนียมคลอไรด์ซึ่งเป็นของแข็งเกิดขึ้นกี่กรัม เขียนและดุลสมการเคมี 2Al(s) + 3Cl 2 (g) 2AlCl 3 (s) ขั้นที่ 1 หาสารกำ�หนดปริมาณ มวลของ Al = 1.00 g Cl 2 × × × = 0.254 g Al นั่นคือ ถ้าใช้ Cl 2 1.00 กรัม จะต้องใช้ Al 0.254 กรัม แต่มี Al เพียง 0.150 กรัม ดังนั้น Al เป็นสารกำ�หนดปริมาณ แบบฝึกหัด 6.6 เพิ่มเติม 1 mol Cl 2 70.90 g Cl 2 2 mol Al 3 mol Cl 2 26.98 g Al 1 mol Al สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 165
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4