คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

ขั้นที่ 2 หามวลของ AlCl 3 มวลของ AlCl 3 = 0.150 g Al × × × = 0.741 g AlCl 3 ดังนั้น เกิดอะลูมิเนียมคลอไรด์ 0.741 กรัม 2. การผลิตไฮโดรเจนไซยาไนด์ (HCN) ในอุตสาหกรรม จะใช้แก๊สแอมโมเนีย (NH 3 ) แก๊ส ออกซิเจน (O 2 ) และแก๊สมีเทน (CH 4 ) เป็นสารตั้งต้น เกิดปฏิกิริยาเคมีดังนี้ (สมการเคมียัง ไม่ดุล) NH 3 (g) + O 2 (g) + CH 4 (g) HCN(g) + H 2 O(g) ถ้าใช้แก๊สแอมโมเนีย แก๊สออกซิเจน และแก๊สมีเทน อย่างละ 5.00 × 10 3 กิโลกรัม ทำ� ปฏิกิริยากันอย่างสมบูรณ์ จะเกิดไฮโดรเจนไซยาไนด์กี่กิโลกรัม และเกิดไอน้ำ�กี่ลิตร (กำ�หนดให้ ความหนาแน่นของไอน้ำ�เท่ากับ 0.804 กรัมต่อลิตร) เขียนและดุลสมการเคมี 2NH 3 (g) + 3O 2 (g) + 2CH 4 (g) 2HCN(g) + 6H 2 O(g) ขั้นที่ 1 หาสารกำ�หนดปริมาณ มวลของ NH 3 = 5.00 × 10 3 × 10 3 g O 2 × × × = 1.78 × 10 6 g NH 3 หรือ 1.78 × 10 3 kg NH 3 นั่นคือ ถ้าใช้ O 2 5.00 × 10 3 กิโลกรัม จะต้องใช้ NH 3 1.78 × 10 3 กิโลกรัม แต่มี NH 3 5.00 × 10 3 กิโลกรัม แสดงว่าแก๊สแอมโมเนียเหลือ ส่วนแก๊สออกซิเจนหมด 1 mol Al 26.98 g Al 2 mol AlCl 3 2 mol Al 133.33 g AlCl 3 1 mol AlCl 3 1 mol O 2 32.00 g O 2 2 mol NH 3 3 mol O 2 17.04 g NH 3 1 mol NH 3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 166

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4