คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
มวลของ CH 4 = 5.00 × 10 3 × 10 3 g O 2 × × × = 1.67 × 10 6 g CH 4 หรือ 1.67 × 10 3 kg CH 4 นั่นคือ ถ้าใช้ O 2 5.00 × 10 3 กิโลกรัม จะต้องใช้ CH 4 1.67 × 10 3 กิโลกรัม แต่มี CH 4 5.00 × 10 3 kg แสดงว่าแก๊สมีเทนเหลือ ส่วนแก๊สออกซิเจนหมด ดังนั้นแก๊สออกซิเจนเป็นสารกำ�หนดปริมาณ ขั้นที่ 2 หามวลของ HCN และปริมาตรของ H 2 O มวลของ HCN = 5.00 × 10 3 × 10 3 g O 2 × × × = 2.82 × 10 6 g HCN หรือ 2.82 × 10 3 kg HCN ดังนั้น เกิดไฮโดรเจนไซยาไนด์ 2.82 × 10 3 กิโลกรัม ปริมาตรของ H 2 O = 5.00 × 10 3 × 10 3 g O 2 × × × × = 7.00 × 10 6 L H 2 O ดังนั้น เกิดไอน้ำ� 7.00 × 10 6 ลิตร 1 mol O 2 32.00 g O 2 1 mol O 2 32.00 g O 2 1 mol O 2 32.00 g O 2 2 mol CH 4 3 mol O 2 2 mol HCN 3 mol O 2 6 mol H 2 O 3 mol O 2 16.05 g CH 4 1 mol CH 4 27.03 g HCN 1 mol HCN 18.2 g H 2 O 1 mol H 2 O 1 L H 2 O 0.804 g H 2 O สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 167
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4