คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
= 129.1 g CCl 4 นั่นคือ ถ้าใช้ SbF 3 100.0 กรัม จะต้องใช้ CCl 4 129.1 กรัม แต่มี CCl 4 150.0 กรัม แสดงว่า SbF 3 เป็นสารกำ�หนดปริมาณ และ CCl 4 ทำ�ปฏิกิริยาไม่หมด ขั้นที่ 2 หาสารที่เหลือ ดังนั้น มีคาร์บอนเตตระคลอไรด์เหลือ = 150.0 g – 129.1 g = 20.9 g 10.2 ฟรีออน-12 ที่เกิดขึ้นมีมวลกี่กรัม คำ�นวณมวลของ CCl 2 F 2 จาก SbF 3 100.0 g ได้ดังนี้ มวลของ CCl 2 F 2 = 100.0 g SbF 3 × × × = 101.5 g CCl 2 F 2 ดังนั้น มีฟรีออน-12 เกิดขึ้น 101.5 กรัม 11. จากปฏิกิริยาเคมี PCl 3 (g) + Cl 2 (g) PCl 5 (g) เมื่อใช้ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด์ 57.0 กรัม ทำ�ปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนที่มากเกินพอ พบว่า มีผลได้ร้อยละของฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์เท่ากับ 84.0 ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ที่ เกิดขึ้นมีมวลกี่กรัม ขั้นที่ 1 หามวลของ PCl 5 ตามทฤษฎี มวลของ PCl 5 ตามทฤษฎี = 57.0 g PCl 3 × × × = 86.4 g PCl 5 ดังนั้น มวลของ PCl 5 ตามทฤษฎีีเท่ากับ 86.4 กรัม ขั้นที่ 2 หามวลของ PCl 5 ที่เกิดขึ้น ผลได้ร้อยละ = × 100 1 mol SbF 3 178.76 g SbF 3 1 mol PCl 3 137.32 g PCl 3 3 mol CCl 2 F 2 2 mol SbF 3 1 mol PCl 5 1 mol PCl 3 120.91 g CCl 2 F 2 1 mol CCl 2 F 2 208.22 g PCl 5 1 mol PCl 5 ผลได้จริง ผลได้ตามทฤษฎี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 177
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4