คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
3. จงคำ�นวณมวลเป็นกรัมของออกซิเจนในแร่ควอตซ์ (SiO 2 ) และหินปูน (CaCO 3 ) อย่างละ 1.00 กิโลกรัม มวลของ O ในแร่ควอตซ์ 1.00 kg มวลต่อโมลของ SiO 2 = 60.08 g/mol มวลของ O = 1000 g SiO 2 × 1 mol SiO 2 60.08 g SiO 2 × 2 mol O 1 mol SiO 2 × 16.00 g O 1 mol O = 532.6 g O มวลของ O ในหินปูน 1.00 kg มวลต่อโมลของ CaCO 3 = 100.09 g/mol มวลของO = 1000 g CaCO 3 × 1 mol CaCO 3 100.09 g CaCO 3 × 3 mol O 1mol CaCO 3 × 16.00 g O 1 mol O = 479.6 g O ดังนั้นมวลของออกซิเจนในแร่ควอตซ์และหินปูนอย่างละ 1.00 กิโลกรัม เท่ากับ 532.6 กรัม และ 479.6 กรัม ตามลำ�ดับ 4. สารตัวอย่าง 0.500 กรัม ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) เมื่อเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ พบว่าเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2 ) 0.687 กรัม และไอน้ำ� (H 2 O) 0.140 กรัม จงคำ�นวณร้อยละโดยมวลของคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนในสาร ตัวอย่าง ร้อยละโดยมวลของ C ในสารตัวอย่าง 0.500 g มวลของ C ใน CO 2 = 0.687 g CO 2 × 1 mol CO 2 44.01 g CO 2 × 1 mol C 1 mol CO 2 × 12.01 g C 1 mol C = 0.187 g C ร้อยละโดยมวลของ C ในสารตัวอย่าง = 0.187 g C 0.500 g sample × 100 = 37.4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 4 | โมลและสูตรเคมี เคมี เล่ม 2 39
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4