คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

4. ภาชนะใบหนึ่งมีมวล 400.00 กรัม เมื่อนำ�มาบรรจุแก๊สไนโตรเจน (N 2 ) ที่ STP จนเต็ม จะ มีมวลเท่ากับ 408.11 กรัม ถ้านำ�ภาชนะใบนี้มาบรรจุน้ำ�จนเต็มจะมีมวลเป็นเท่าใด หาปริมาตรของแก๊สไนโตรเจนในภาชนะ = (408.11 – 400.00) g N 2 × × × = 6.48 × 10 3 mL N 2 ปริมาตรของแก๊สไนโตรเจนที่ได้ คือ ปริมาตรของภาชนะ เมื่อนำ�ภาชนะนี้มาบรรจุน้ำ� จนเต็ม จะหามวลของน้ำ�ที่บรรจุได้ดังนี้ มวลของน้ำ�ในภาชนะ = 6.48 × 10 3 mL H 2 O × = 6.48 × 10 3 g H 2 O เมื่อนำ�ภาชนะมาบรรจุน้ำ�จนเต็ม จะมีมวล = 400.00 g + (6.48 × 10 3 ) g = 6.88 × 10 3 g ดังนั้นภาชนะที่บรรจุน้ำ�จนเต็มมีมวล 6.88 × 10 3 กรัม 5. จงหาความหนาแน่นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2 ) ที่ STP ในหน่วยกรัมต่อลิตร แก๊ส CO 2 1 mol มีมวล 44.01 g และมีปริมาตร 22.4 L ความหนาแน่นของแก๊ส CO 2 ที่ STP = = 1.96 g/L ดังนั้น ความหนาแน่นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เท่ากับ 1.96 กรัมต่อลิตร ที่ STP 6. ตะกั่ว (Pb) มีมวลอะตอม 207.2 มีความหนาแน่น 11.4 กรัมต่อมิลลิลิตร จงคำ�นวณ 6.1 ปริมาตรของตะกั่ว 1 โมล ตะกั่ว 1 mol มีปริมาตร = × 1 mol N 2 28.02 g N 2 1 g H 2 O 1 mL H 2 O 22.4 L N 2 1 mol N 2 1000 mL N 2 1 L N 2 44.01 g CO 2 22.4 L CO 2 207.2 g Pb 1 mol Pb 1 mL Pb 11.4 g Pb สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 4 | โมลและสูตรเคมี เคมี เล่ม 2 51

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4