คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
แนวทางการวัดและประเมินผล 1. ความรู้เกี่ยวกับหน่วยความเข้มข้นของสารละลายและวิธีการคำ�นวณความเข้มข้นของ สารละลายในหน่วยต่าง ๆ จากการอภิปราย การทำ�แบบฝึกหัด และการทดสอบ 2. ทักษะการใช้จำ�นวน จากการทำ�แบบฝึกหัด 3. จิตวิทยาศาสตร์ด้านความใจกว้าง จากการสังเกตพฤติกรรมในการอภิปราย 4. จิตวิทยาศาสตร์ด้านความรอบคอบ จากการทำ�แบบฝึกหัด 1. สินแร่ตัวอย่างชนิดหนึ่ง 0.456 กรัม เมื่อนำ�มาวิเคราะห์พบว่ามีโครเมียม(III)ออกไซด์ (Cr 2 O 3 ) อยู่ 0.560 มิลลิกรัม สินแร่ตัวอย่างมีโครเมียม(III)ออกไซด์ อยู่กี่ส่วนในล้านส่วน มวลของ Cr 2 O 3 = 0.560 mg Cr 2 O 3 × = 5.60 × 10 -4 g Cr 2 O 3 มวลของสารละลาย = 0.456 g ความเข้มข้นของสารละลาย = × 10 6 ppm = × 10 6 ppm = 1.23 × 10 3 ppm ดังนั้น ในสินแร่ตัวอย่างมีโครเมียม(III)ออกไซด์อยู่ 1.23 × 10 3 ส่วนในล้านส่วน 2. ในการตรวจสอบน้ำ�จากแหล่งน้ำ�แห่งหนึ่งพบว่ามีปริมาณของเลด(II)ไอออน (Pb 2+ ) 0.20 ส่วนในล้านส่วน และมีซิงค์(II)ไอออน (Zn 2+ ) 3.00 ส่วนในล้านส่วน ถ้าแหล่งน้ำ�นี้มี ความกว้างเท่ากับ 3.00 เมตร มีความยาวเท่ากับ 10.00 เมตร และมีน้ำ�อยู่ลึกประมาณ 1.50 เมตร ในแหล่งน้ำ�นี้มีเลด(II)ไอออนและซิงค์(II)ไอออน ปนเปื้อนอยู่กี่กรัม 1 m 3 = 1000 L ปริมาตรของแหล่งน้ำ� = 3.00 m × 10.00 m × 1.50 m = 45.00 m 3 แบบฝึกหัด 5.1 มวลของ Cr 2 O 3 (g) มวลของสินแร่ (g) 5.60 × 10 -4 0.456 g 1 g Cr 2 O 3 1000 mg Cr 2 O 3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 70
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4