คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

= 2.5 g MgSO 4 ⋅ 7H 2 O ดังนั้น จะต้องใช้แมกนีเซียมซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต 2.5 กรัม 3. เลด(II)ไนเทรต (Pb(NO 3 ) 2 ) 3.31 กรัม ใช้เตรียมสารละลายเข้มข้น 0.25 โมลต่อลิตร ได้กี่ มิลลิลิตร มวลต่อโมลของ Pb(NO 3 ) 2 = 331.22 g/mol ปริมาตรของสารละลาย = 3.31 g Pb(NO 3 ) 2 × × = 40 mL sol n ดังนั้น เตรียมสารละลายได้ 40 มิลลิลิตร 4. จงอธิบาย 4.1. วิธีเตรียมสารละลายซิลเวอร์ไนเทรต (AgNO 3 ) 0.100 โมลต่อลิตร ปริมาตร 250 มิลลิลิตร จากผลึกซิลเวอร์ไนเทรต มวลต่อโมลของ AgNO 3 = 169.88 g/mol ขั้นที่ 1 คำ�นวณมวลของ AgNO 3 มวลของ AgNO 3 = × 250 mL sol n × = 4.25 g AgNO 3 ขั้นที่ 2 ทำ�ให้เป็นสารละลาย โดยชั่ง AgNO 3 จำ�นวน 4.25 g นำ�มาละลายในน้ำ� เล็กน้อยจนละลายหมดแล้วเทใส่ขวดกำ�หนดปริมาตร จากนั้นเติมน้ำ�กลั่นลงไปอีกจนได้ สารละลายปริมาตร 250 mL 4.2 วิธีเตรียมสารละลายซิลเวอร์ไนเทรต 0.025 โมลต่อลิตร ปริมาตร 500 มิลลิลิตร จาก สารละลายที่เตรียมได้ในข้อ 4.1 1 mol Pb(NO 3 ) 2 331.22 g Pb(NO 3 ) 2 0.100 mol AgNO 3 1000 mL sol n 169.88 g AgNO 3 1 mol AgNO 3 1000 mL sol n 0.25 mol Pb(NO 3 ) 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 83

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4