คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
ขั้นที่ 1 หาปริมาตรของสารละลายในข้อ 4.1 (เข้มข้น 0.100 โมลต่อลิตร) ที่ต้องใช้ ปริมาตรสารละลาย = × 125 mL sol n × = 125 mL sol n หรือคำ�นวณโดยใช้ความสัมพันธ์ M 1 V 1 = M 2 V 2 (0.100 mol/L) ( V 1 ) = (0.025 mol/L) (500 mL) V 1 = = 125 mL ขั้นที่2 ทำ�สารละลายให้เจือจาง โดยปิเปตต์ AgNO 3 0.100 mol/L ปริมาตร 125 mL แล้วเติมน้ำ�กลั่นจนได้สารละลายปริมาตร 500 mL ในขวดกำ�หนดปริมาตร 5. ถ้ามีแบเรียมคลอไรด์ (BaCl 2 ) 2.08 กรัม และต้องการเตรียมสารละลายเข้มข้น 0.050 โมล ต่อลิตร 5.1 ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเข้มข้น 0.050 โมลต่อลิตร ปริมาตร 400 มิลลิลิตร จะ ทำ�ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด มวลต่อโมลของ BaCl 2 = 208.23 g/mol มวลของ BaCl 2 = × 400 mL sol n × = 4.2 g BaCl 2 ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย BaCl 2 0.050 mol/L ปริมาตร 400 mL ต้องใช้ BaCl 2 4.2 g แต่โจทย์กำ�หนดให้มี BaCl 2 2.08 g ดังนั้น จึงไม่สามารถทำ�ได้ เพราะปริมาณของ BaCl 2 ที่มีอยู่ไม่เพียงพอที่จะใช้เตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นและปริมาตรดังกล่าวได้ 1000 mL sol n 0.100 mol AgNO 3 0.025 mol AgNO 3 1000 mL sol n (0.025 mol/L) (500 mL) (0.100 mol/L) 0.050 mol BaCl 2 1000 mL sol n 208.23 g BaCl 2 1 mol BaCl 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 84
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4