คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

5.2 สารละลายเข้มข้น 0.050 โมลต่อลิตร ปริมาตรมากที่สุดที่จะเตรียมได้เป็นเท่าใด ปริมาตรของสารละลาย = 2.08 g BaCl 2 × × = 2.0 × 10 2 mL sol n ดังนั้น สามารถเตรียมสารละลายได้ปริมาตรมากที่สุด 2.0 × 10 2 มิลลิลิตร 6. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเลด(II)ไนเทรต (Pb(NO 3 ) 2 ) เข้มข้น 0.050 โมลต่อลิตร ปริมาตร 100 มิลลิลิตร จากสารละลายเลด(II)ไนเทรต เข้มข้น 0.20 โมลต่อลิตร 6.1. ต้องใช้สารละลายเลด(II)ไนเทรต เข้มข้น 0.20 โมลต่อลิตร ปริมาตรกี่มิลลิลิตร มวลต่อโมลของ Pb(NO 3 ) 2 = 331.22 g/mol ปริมาตรของสารละลาย = 100 mL sol n × × = 25 mL sol n หรือคำ�นวณโดยใช้ความสัมพันธ์ดังนี้ M 1 V 1 = M 2 V 2 V 1 = = 25 mL ดังนั้น ต้องใช้สารละลายเลด(II)ไนเทรต 0.2 โมลต่อลิตร ปริมาตร 25 มิลลิลิตร 6.2 สารละลายที่เจือจางแล้วมีเลด(II)ไนเทรต ละลายอยู่กี่กรัม มวลของ Pb(NO 3 ) 2 = × 100 mL sol n × 0.050 mol (Pb(NO 3 ) 2 1000 mL sol n 0.050 mol Pb(NO 3 ) 2 1000 mL sol n 331.22 g Pb(NO 3 ) 2 1 mol Pb(NO 3 ) 2 1000 mL sol n 0.20 mol Pb(NO 3 ) 2 (0.050 mol/L) (100 mL) (0.20 mol/L) 1 mol BaCl 2 208.23 g BaCl 2 1000 mL sol n 0.050 mol BaCl 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 85

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4