คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาเคมี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 22 ผลการเรียนรู้ ชั้น สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ม.๕ ม.๖ ๒๑. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ สืบค้น ข้อมูลและนำ�เสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ ได้อย่างเหมาะสม ๑. อธิบายความสัมพันธ์และคำ�นวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆ ตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์–ลูสแซก ๒. คำ�นวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆ ตามกฎรวมแก๊ส ๑. สืบค้นข้อมูลและนำ�เสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม ที่พบในชีวิตประจำ�วัน ๓. คำ�นวณปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ จำ�นวนโมล หรือมวลของแก๊ส จากความสัมพันธ์ตามกฎ ของอาโวกาโดร และกฎแก๊สอุดมคติ ๔. คำ�นวณความดันย่อยหรือจำ�นวนโมลของแก๊สในแก๊สผสม โดยใช้กฎความดันย่อยของดอลตัน ๕. อธิบายการแพร่ของแก๊สโดยใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส คำ�นวณและเปรียบเทียบอัตราการแพร่ ของแก๊ส โดยใช้กฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม ๖. สืบค้นข้อมูล นำ�เสนอตัวอย่าง และอธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติและกฎต่าง ๆ ของ แก๊สในการอธิบายปรากฏการณ์ หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำ�วันและในอุตสาหกรรม - สารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ มีสมบัติเฉพาะตัวบางประการที่แตกต่างกัน เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว การละลายน้ำ� การนำ�ไฟฟ้า จึงสามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ใน ด้านต่าง ๆ ได้ตามความเหมาะสม - พฤติกรรมของแก๊ส และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊ส อธิบาย ได้ด้วยกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์–ลูสแซก และกฎรวมแก๊ส ซึ่งสามารถนำ�มาใช้ ในการคำ�นวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆ ได้ - สารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบของคาร์บอน ส่วนใหญ่พบในสิ่งมีชีวิต มีโครงสร้าง หลากหลายและแบ่งได้หลายประเภท เนื่องจากธาตุคาร์บอนสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับ - ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร และจำ�นวนโมลหรือมวลของแก๊ส อธิบายความสัมพันธ์ได้ ด้วยกฎของอาโวกาโดร สำ�หรับความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ และจำ�นวน โมลของแก๊ส อธิบายได้ด้วยกฎแก๊สอุดมคติ ซึ่งสามารถนำ�มาใช้ในการคำ�นวณและการอธิบาย การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับจำ�นวนโมลของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆ ได้ - ในธรรมชาติ แก๊สส่วนใหญ่อยู่รวมกันเป็นแก๊สผสม ในกรณีที่แก๊สในแก๊สผสมไม่ทำ�ปฏิกิริยากัน ความดันของแก๊สแต่ละชนิดแปรผันตามเศษส่วนโมลของแก๊ส ที่มีอยู่ในแก๊สผสมตามกฎ ความดันย่อยของดอลตัน - แก๊สสามารถแพร่ได้ การแพร่ของแก๊สอธิบายได้ด้วยทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ที่อุณหภูมิเดียวกัน แก๊สจะแพร่ได้ช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับมวลโมเลกุลของแก๊ส อัตราการแพร่ของแก๊สเป็นสัดส่วนผกผัน กับรากที่สองของมวลโมเลกุลของแก๊ส สัมพันธ์กับกฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม - สมบัติและกฎต่าง ๆ ของแก๊สสามารถนำ�ไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ หรือประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำ�วันและในอุตสาหกรรม
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4