คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

I I กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หลากหลายได้อย่างสมเหตุสมผลการอภิปราย ร่วมกันและการนำาเสนอผล) 2. ความร่วมมือการทำางานเป็นทีมและภาวะผู้นำา 3. การคิดและการแก้ปัญหา(กิจกรรมเกมหรือ ละครวิทยาศาสตร์) ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความอยากรู้อยากเห็น 2. ความรอบคอบ 96 2 เรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับบริบทของตนเอง แต่ยัง คงเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ตามธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ผ่าน กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ภาพที่ ๑  ตัวอย่างการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ รายละเอียดของคู่มือการใช้หลักสูตรฯ มีดังต่อไปนี้ ตัวอย่างการนำ�เสนอรายละเอียดของการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ และแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แสดงไว้ดังภาพที่ ๑ - แนวการประเมินการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และ เจตคติ ที่วิเคราะห์ได้จากผลการเรียนรู้ ตลอดจนแนวการประเมินทักษะ แห่งศตวรรษที่ ๒๑ การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ซึ่งเน้น การสืบเสาะหาหลักการและองค์ความรู้ต่างๆ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติโดยเฉพาะ ที่เกี่ยวกับระบบและกลไกทางกายภาพ 2. ประวัติความเป็นมาของพัฒนาการทางฟิสิกส์ 3. ฟิสิกส์กับการพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และการแสวงหาความรู้ใหม่ ด้านทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การลงความเห็นจากข้อมูล(ความน่าเชื่อถือ และความถูกต้องของข้อมูล) ทักษะแห่งศตวรรษที่21 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ (มีการอ้างอิงแหล่งที่มาและการเปรียบเทียบ ความถูกต้องของข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ 1. นำาเข้าสู่บทเรียนโดยการตั้งคำาถามหรือให้นักเรียนยกตัวอย่างเหตุการณ์ ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการสืบเสาะค้นพบทางฟิสิกส์และนักวิทยาศาสตร์ที่รู้จัก 2. ยกตัวอย่างเกี่ยวกับการค้นพบทางฟิสิกส์ จากนั้นให้นักเรียนสืบค้น และอภิปรายร่วมกัน โดยเน้นที่กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ บุคลิกลักษณะอันพึงประสงค์ของนักวิทยาศาสตร์ 3. จัดกิจกรรมเช่นเกมละครทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ทางฟิสิกส์ 4. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการค้นพบทางฟิสิกส์เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ ตรงในการค้นหาหลักการหรือองค์ความรู้ทางฟิสิกส์โดยใช้กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรม 5. ให้นักเรียนสืบค้นและอภิปรายร่วมกัน โดยเน้นการเชื่อมโยงการค้นพบ ในอดีตกับการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวันและ การนำาเทคโนโลยีไปใช้ค้นหาความรู้ใหม่ในทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งอาจให้ นักเรียนเสนอสถานการณ์ที่สามารถนำาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ มาเป็น เครื่องมือหาคำาตอบจากนั้นนำาเสนอผล 6. ให้นักเรียนสรุปเพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ ด้านความรู้ 1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะ หาความรู้ทางฟิสิกส์ จากการสรุปและการเขียน ผังมโนทัศน์ 2. ประวัติความเป็นมาของพัฒนาการทางฟิสิกส์ฟิสิกส์ กับการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการ แสวงหาความรู้ใหม่จากการสรุปการทำาแบบฝึกหัด และแบบทดสอบ ด้านทักษะ การลงความเห็นจากข้อมูล การสื่อสารสารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อความร่วมมือการทำางานเป็นทีม และภาวะผู้นำา การคิดอย่างมีวิจารณญาณและ การแก้ปัญหาจากการทำากิจกรรม ด้านจิตวิทยาศาสตร์ ความอยากรู้อยากเห็นและความรอบคอบจากการ เขียนรายงานและจากการนำาเสนอผล 95 ฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 1. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรงแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกฎความโน้มถ่วงสากลแรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมการเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมทั้งนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นและอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ประวัติความเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ที่มีผลต่อการแสวงหา ความรู้ใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยี สาระฟิสิกส์

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4