คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. เมื่อขดลวดตัวนำ�เคลื่อนที่ตัดสนามแม่เหล็ก หรือฟลักซ์แม่เหล็กเปลี่ยนแปลงผ่านขดลวด จะทำ�ให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ� มีความสัมพันธ์กับอัตราการเปลี่ยนแปลง ฟลักซ์แม่เหล็ก 2. หลักการทำ�งานของเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น แบลลาสต์ เตาเหนี่ยวนำ� มอเตอร์ไฟฟ้า และแรงเคลื่อนไฟฟ้ากลับในมอเตอร์ไฟฟ้า อธิบายได้ด้วยแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ� ด้านทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การใช้จำ�นวน (ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ�) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ (การอภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล มีการอ้างอิงแหล่งที่มาและการเปรียบเทียบ ความถูกต้องของข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายได้อย่างสมเหตุสมผล) 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� 1. นำ�เข้าสู่บทเรียน โดยให้นักเรียนศึกษาการสว่างของหลอดไฟฟ้าฟลูออเรสเซนต์ แบบดั้งเดิมที่ต่ออยู่กับขดลวด อภิปรายร่วมกัน จนสรุปได้ว่า ในขดลวด ที่มีการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กจะทำ�ให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ� ขึ้นในขดลวด หรือมีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ�ผ่านหลอดไฟฟ้าทำ�ให้สว่างได้ 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ� ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ฟลักซ์แม่เหล็ก อภิปรายร่วมกัน จนสรุปได้ว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ� ที่เกิดขึ้น มีขนาดเป็นไปตามกฎการเหนี่ยวนำ�ของฟาราเดย์ ตามสมการ และมีทิศทางเป็นไปตามกฎของเลนซ์ 3. ยกตัวอย่างการคำ�นวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแรงเคลื่อนไฟฟ้า เหนี่ยวนำ� จากนั้นให้นักเรียนสรุป เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ 4. ให้นักเรียนสืบค้นการทำ�งานของเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น แบลลาสต์ เตาเหนี่ยวนำ� มอเตอร์ไฟฟ้าและแรงเคลื่อนไฟฟ้ากลับในมอเตอร์ไฟฟ้า นำ�เสนอผลและ อภิปรายร่วมกัน ด้านความรู้ 1. แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ� และทิศทางของแรง เคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ� จากการอภิปรายร่วมกัน แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ 2. การทำ�งานของเครื่องใช้ไฟฟ้า จากการเขียนรายงาน ด้านทักษะ 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ อภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล 2. การใช้จำ�นวน ในการหาปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ� จากแบบฝึกหัดและ แบบทดสอบ 3. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� จากการอภิปรายร่วมกัน ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความรอบคอบ จากการเขียนรายงาน 2. ความอยากรู้อยากเห็น จากการอภิปรายร่วมกัน ผลการเรียนรู้ 4. สังเกตและอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ� กฎการเหนี่ยวนำ�ของฟาราเดย์ และคำ�นวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งนำ�ความรู้ เรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ�ไปอธิบายการทำ�งานของเครื่องใช้ไฟฟ้า  sin qvB F  F qvB  2 mv F r   sin ILB F   cos NIAB M  t      m rms 2 I I  m rms 2 V V  1 1 2 2 E N E N  m V   Tmc Q   174

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4