คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. ความหนาแน่นเป็นสมบัติของสสาร มีความ สัมพันธ์กับมวลและปริมาตร 2. พลังงานความร้อนทำ�ให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ มีความสัมพันธ์กับมวล ความร้อนจำ�เพาะและ อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปของสสาร 3. พลังงานความร้อนทำ�ให้สสารเปลี่ยนสถานะ มีความสัมพันธ์กับมวลและความร้อนแฝง จำ�เพาะของสสาร 4. การถ่ายโอนพลังงานความร้อนของวัตถุเกิดขึ้น เมื่อวัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิแตกต่างกัน พลังงาน ความร้อนถ่ายโอนจากวัตถุที่อุณหภูมิสูงไปสู่ วัตถุอุณหภูมิต่ำ� และพลังงานความร้อนที่ ถ่ายโอนจะเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน 1. นำ�เข้าสู่บทเรียน โดยการทบทวนความรู้เกี่ยวกับความหนาแน่น จากนั้น ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหาความหนาแน่นของน้ำ� โดยชั่งน้ำ�หนักแล้วหามวล ของน้ำ�และตวงปริมาตรของน้ำ� คำ�นวณความหนาแน่นของน้ำ� ตามสมการ จากนั้นให้นักเรียนหาความหนาแน่นของสสารอื่น ๆ อภิปรายร่วมกัน จนสรุปได้ว่าความหนาแน่นของสสารเป็นสมบัติเฉพาะของสสาร 2. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลในตารางแสดงความหนาแน่นของน้ำ�ที่ อุณหภูมิต่าง ๆ จากนั้นอภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่า ความหนาแน่น ของน้ำ�เปลี่ยนแปลง เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง 3. ให้ความรู้เกี่ยวกับความร้อนจำ�เพาะของสสาร จากนั้นตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับ ผลของการให้พลังงานความร้อนกับวัตถุ แล้วทำ�ให้วัตถุมีอุณหภูมิเปลี่ยนไป มีค่าขึ้นอยู่กับปริมาณใด อภิปรายร่วมกัน โดยใช้ข้อมูลจากการทดลอง จนสรุปได้ว่าพลังงานความร้อนที่ทำ�ให้วัตถุมีอุณหภูมิเปลี่ยนไป เป็นไป ตามสมการ ด้านความรู้ ความหนาแน่นของสสาร พลังงานความร้อน และ การถ่ายโอนพลังงานความร้อน จากการอภิปราย ร่วมกัน ด้านทักษะ 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ อภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล 2. การใช้จำ�นวน ในการหาปริมาณต่างๆ เกี่ยวกับความ หนาแน่นของสสาร พลังงานความร้อน และการ ถ่ายโอนพลังงานความร้อน จากแบบฝึกหัดและ แบบทดสอบ 3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป จากการ อภิปรายร่วมกัน 4. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� จากการอภิปรายร่วมกัน ด้านจิตวิทยาศาสตร์ - 4. เข้าใจสมบัติทางกายภาพของสสาร พลังงานความร้อนที่ทำ�ให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิและ เปลี่ยนสถานะ สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ ความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดันบรรยากาศ แรงพยุงจากของไหล ความตึงผิวและแรงหนืดของของเหลว สมบัติของของ ไหลอุดมคติ กฎของแก๊สอุดมคติ แบบจำ�ลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน และฟิวชัน การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค รวมทั้งนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายและคำ�นวณความร้อนที่ทำ�ให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความร้อนที่ทำ�ให้สสารเปลี่ยนสถานะ และ ความร้อนที่เกิดจากการถ่ายโอนตาม กฎการอนุรักษ์พลังงาน t m rms 2 I I m rms 2 V V 1 1 2 2 E N E N m V Tmc Q Q mL sin ILB F cos NIAB M t m rms 2 I I m rms 2 V V 1 1 2 2 E N E N m V Tmc Q Q mL 182
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4