คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. แรงมีผลต่อการเปลี่ยนรูปร่างของวัสดุ ความพยายามในการคงรูปร่างของวัสดุ ต่อแรงที่กระทำ� บ่งบอกถึงสภาพยืดหยุ่น ของวัสดุ 2. เมื่อมีแรงกระทำ�ต่อวัสดุที่เป็นแท่งให้ยืด หรือหดตัว จะเกิดความเค้นตามยาวและ ความเครียดตามยาว อัตราส่วนของความเค้น ตามยาวต่อความเครียดตามยาว เรียกว่า มอดุลัสของยัง ด้านทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. การวัด (ความยาวของเส้นลวดที่เปลี่ยนไป) 2. การทดลอง 3. การจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล (จากการเขียนกราฟ) 4. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (การสรุปผลการทดลอง) 5. การใช้จำ�นวน(ความเค้นตามยาว ความเครียด ตามยาว และมอดุลัสของยัง) 1. นำ�เข้าสู่บทเรียน โดยให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเส้นยาง หรือฟองน้ำ� กับดินน้ำ�มัน เมื่อออกแรงกระทำ�ต่อวัสดุแต่ละชนิด เปรียบเทียบ กับเมื่อหยุดออกแรงกระทำ�ต่อวัสดุ อภิปรายร่วมกันและนำ�เสนอผล จากนั้น ให้ความรู้เกี่ยวกับสภาพยืดหยุ่นของวัสดุ 2. สาธิตการทดลองเสมือนจริง เพื่อศึกษาความเค้นตามยาวและความเครียด ตามยาว จากนั้นมอบหมายให้นักเรียนทำ�การทดลองโดยใช้โปรแกรม การทดลองเสมือนจริงนอกเวลาเรียน เพื่อให้นักเรียนเข้าใจทฤษฎี การเตรียม อุปกรณ์และขั้นตอนการทดลอง ก่อนทำ�การทดลองจริง 3. ให้นักเรียนทดลองเพื่อศึกษาความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาว และ มอดุลัสของยัง อภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ความสัมพันธ์ตามสมการ 4. ให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับการนำ�ความรู้เรื่องสภาพยืดหยุ่น เพื่อใช้เลือก วัสดุไปใช้ในกรณีต่างๆ เช่น โครงสร้างสิ่งก่อสร้าง สายกีตาร์ เส้นเอ็น จากนั้นนำ�เสนอผลและอภิปรายร่วมกัน 5. ยกตัวอย่างการคำ�นวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาว และมอดุลัสของยัง จากนั้นให้นักเรียนสรุป เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ ด้านความรู้ 1. สภาพยืดหยุ่นและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุ ที่เป็นแท่งเมื่อถูกกระทำ�ด้วยแรงค่าต่าง ๆ จากการ อภิปรายร่วมกัน 2. สภาพยืดหยุ่นไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน จากการเขียน รายงาน ด้านทักษะ 1. การวัด การทดลอง การจัดกระทำ�และสื่อความหมาย ข้อมูล การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� จากการอภิปรายร่วมกันและรายงานผลการทดลอง 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ อภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล 3. การใช้จำ�นวน ในการหาปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาวและมอดุลัส ของยัง จากแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความรอบคอบ จากการเขียนรายงาน 2. ความซื่อสัตย์ จากรายงานผลการทดลอง 3. ความมุ่งมั่นอดทน จากการทดลอง และการอภิปราย ร่วมกัน ผลการเรียนรู้ 2. อธิบายสภาพยืดหยุ่นและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุที่เป็นแท่งเมื่อถูกกระทำ�ด้วยแรงค่าต่างๆ รวมทั้งทดลอง อธิบาย และคำ�นวณ ความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาว และมอดุลัสของยัง และนำ�ความรู้เรื่องสภาพยืดหยุ่นไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน Q ลด =Q เพิ่ม F A   , 0 L L    , Y    หรือ 0 / / LL AF Y   g P gh   0 g P P P   M.A. = W F B F Vg   F l   184

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4