คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2. การจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล (การเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความ ดันเกจกับความหนาแน่น และกราฟความ สัมพันธ์ระหว่างความดันเกจกับความลึก) 3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (การสรุปกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความ ดันเกจกับความหนาแน่นและกราฟความ สัมพันธ์ระหว่างความดันเกจกับความลึก) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ (การอภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล) 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ด้านจิตวิทยาศาสตร์ ความอยากรู้อยากเห็น 6. ให้ความรู้ว่ากฎพาสคัล ใช้อธิบายหลักการทำ�งานของเครื่องอัดไฮดรอลิก ที่สามารถยกวัตถุหนักหรือแรงต้านที่มีค่ามาก โดยใช้แรงพยายามที่มี ค่าน้อย จึงมีการได้เปรียบเชิงกล ตามสมการ 7. ยกตัวอย่างการคำ�นวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความดันเกจ ความดัน สัมบูรณ์ การได้เปรียบเชิงกลของเครื่องอัดไฮดรอลิกอย่างง่าย จากนั้นให้ นักเรียนสรุป เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ 187 ฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4