คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ แรงพยุงเป็นแรงที่ของไหลกระทำ�ต่อวัตถุ ที่อยู่ในของไหลมีค่าขึ้นกับปริมาตรของ ของไหลที่ถูกวัตถุแทนที่ และความหนาแน่น ของของไหลนั้น ด้านทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. การวัด (การอ่านค่าน้ำ�หนักจากเครื่องชั่งสปริง) 2. การทดลอง 3. การจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล (การเขียนกราฟ) 4. การตีความหมายและลงข้อสรุป (ความสัมพันธ์ ระหว่างแรงพยุงกับปริมาตรของของเหลวที่ ถูกแทนที่) 5. การใช้จำ�นวน (ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ แรงพยุง) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ (การอภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล) 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความซื่อสัตย์ 2. ความมุ่งมั่นอดทน 1. นำ�เข้าสู่บทเรียน โดยการทบทวนเกี่ยวกับแรงพยุงของของเหลว จากนั้น ให้นักเรียนสังเกตการกดแผ่นโฟมหรือลูกบอลพลาสติกให้จมลงในน้ำ� แล้วปล่อย อภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่าน้ำ�มีแรงพยุง 2. ให้นักเรียนทดลองหาขนาดของแรงพยุง โดยใช้เครื่องชั่งสปริงหาน้ำ�หนัก ของดินน้ำ�มันในอากาศและในน้ำ� โดยจุ่มดินน้ำ�มันให้จมน้ำ�ในปริมาตรต่างๆ หา ผลต่ า ง ขอ ง น้ำ �หนั กดิ นน้ำ � มั น เ มื่ อชั่ ง ใ นอ า ก า ศแล ะ ใ นน้ำ � เปรียบเทียบกับน้ำ�หนักของน้ำ�ที่ถูกดินน้ำ�มันแทนที่ในแต่ละปริมาตร นำ�เสนอผลการทดลองและอภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่า แรงพยุงขึ้นอยู่กับ ปริมาตรของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่และความหนาแน่นของของเหลว 3. ทบทวนความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนภาพของแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุอิสระ และการหาแรงลัพธ์ที่กระทำ�ต่อวัตถุ จากนั้นให้นักเรียนอภิปรายร่วมกัน เกี่ยวกับการหาแรงพยุง ซึ่งหาได้จากผลต่างของความดันของของเหลว ที่กระทำ�ต่อวัตถุที่อยู่ในของเหลว จนสรุปได้ว่าแรงพยุงของของเหลว มีความสัมพันธ์ตามสมการ จากนั้นให้ความรู้ว่า สมการของแรงพยุงของของเหลว สามารถใช้ได้กับ ของไหลอื่นๆ เช่น อากาศ 4. ยกตัวอย่างการคำ�นวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแรงพยุงของของไหล และยกตัวอย่างการนำ�ความรู้เรื่องแรงพยุงของของไหลไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำ�วัน จากนั้นให้นักเรียนสรุป เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ ด้านความรู้ การหาขนาดของแรงพยุง จากการอภิปรายร่วมกัน แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ ด้านทักษะ 1. การวัด การทดลอง การจัดกระทำ�และสื่อความหมาย ข้อมูล การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� จากการอภิปรายร่วมกันและรายงานผลการทดลอง 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ อภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล 3. การใช้จำ�นวน ในการหาปริมาณต่างๆ เกี่ยวกับแรงพยุง ของของไหล จากแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความซื่อสัตย์ จากรายงานผลการทดลอง 2. ความมุ่งมั่นอดทน จากการทดลอง และการอภิปราย ร่วมกัน ผลการเรียนรู้ 4. ทดลอง อธิบายและคำ�นวณแรงพยุงของของไหล Q ลด =Q เพิ่ม F A   , 0 L L    , Y    หรือ 0 / / LL AF Y   g P gh   0 g P P P   M.A. = W F B F Vg   F l    Av ค่าคงตัว 2 1 2 P v gh      ค่าคงตัว PV nRT  188

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4