คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. ความตึงผิวเป็นสมบัติของของเหลวในการ คงขนาดพื้นที่ผิวเดิมไว้ เป็นผลเนื่องมาจาก แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่ผิวของเหลว ความตึงผิวหาค่าได้จากแรงต่อหนึ่งหน่วย ความยาวขอบที่สัมผัสกับของเหลว 2. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ในของเหลว จะมีแรงหนืด เป็นแรงต้านการเคลื่อนที่จากของเหลวกระทำ� ต่อวัตถุ มีความสัมพันธ์กับอัตราเร็วของวัตถุ ด้านทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. การวัด (น้ำ�หนักจากเครื่องชั่งสปริง) 2. การทดลอง 3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (การสรุปผลการทดลอง) 4. การใช้จำ�นวน (ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ แรงเนื่องจากความตึงดึงผิวและความตึงผิว) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ (การอภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล มีการอ้างอิงแหล่งที่มาและการเปรียบเทียบ ความถูกต้องของข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายได้อย่างสมเหตุสมผล) 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� 1. นำ�เข้าสู่บทเรียน โดยยกสถานการณ์การลอยอยู่บนผิวน้ำ�ของแมลง บางชนิด หรือการลอยของลวดเสียบกระดาษ ให้นักเรียนสังเกต จากนั้น อภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่าแมลงหรือลวดเสียบกระดาษลอยบนผิวน้ำ�ได้ เนื่องจากของเหลวมีแรงเนื่องจากความตึงผิว 2. ให้นักเรียนทดลองเพื่อหาความตึงผิวของของเหลว นำ�เสนอผลและ อภิปรายร่วมกัน จนสรุปได้ว่าความตึงผิวของของเหลวมีความสัมพันธ์ กับแรงเนื่องจากความตึงผิว ตามสมการ จากนั้นให้ความรู้เกี่ยวกับการลอยอยู่บนผิวน้ำ�ของแมลงและลวดเสียบ กระดาษมีผลจากแรงเนื่องจากความตึงผิวของน้ำ� 3. ตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการกวนน้ำ�เชื่อมจากเริ่มต้นและเคี่ยวจนข้นขึ้นเรื่อยๆ จะมีสภาพของการต้านการเคลื่อนที่ของแท่งกวนอย่างไร ให้นักเรียน อภิปรายร่วมกัน จนสรุปได้ว่าเมื่อน้ำ�เชื่อมข้นขึ้น แรงต้านการเคลื่อนที่ ของแท่งกวนจะเพิ่มขึ้น มีผลมาจากแรงหนืดของน้ำ�เชื่อม 4. ตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับแรงหนืดว่า แรงหนืดของของเหลวจะมีค่ามากหรือ น้อยขึ้นกับปริมาณใดบ้าง อภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่า ค่าของแรงหนืด ของของเหลวขึ้นกับอัตราเร็วของวัตถุและชนิดของของเหลว 5. ให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับการนำ�ความรู้เรื่องความตึงผิวและแรงหนืด ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน นำ�เสนอผลและอภิปรายร่วมกัน 6. ยกตัวอย่างการคำ�นวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวกับแรงเนื่องจากความตึงผิว และความตึงผิว จากนั้นให้นักเรียนสรุป เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ ด้านความรู้ 1. แ ร ง เ นื่อ ง จ า ก ค ว า มตึ ง ผิ ว แ ล ะ ค ว า มตึ ง ผิ ว จากการอภิปรายร่วมกัน 2. แรงหนืดของของเหลวและผลของแรงหนืดที่มีต่อ การเคลื่อนที่ จากการเขียนรายงาน ด้านทักษะ 1. การวัด การทดลอง การตีความหมายข้อมูลและ ลงข้อสรุป ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและ ภาวะผู้นำ� จากการอภิปรายร่วมกันและรายงาน การทดลอง 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ อภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล 3. การใช้จำ�นวน ในการหาปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวกับแรง เนื่องจากความตึงผิวและความตึงผิว จากแบบฝึกหัด และแบบทดสอบ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความซื่อสัตย์ จากรายงานผลการทดลอง 2. ความมุ่งมั่นอดทน จากการทดลองและการอภิปราย ร่วมกัน ผลการเรียนรู้ 5. ทดลอง อธิบายและคำ�นวณความตึงผิวของของเหลว รวมทั้งสังเกตและอธิบายแรงหนืดของของเหลว A   , 0 L   , Y   หรือ 0 / LL Y   g P gh   0 g P P P   M.A. = W F B F Vg   F l    Av ค่ คงตัว 2 1 2 P v gh      ค่าคงตัว PV nRT  2 2 1 3 2 2 3 k PV N mv PV NE         B PV Nk T  189 ฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4