คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. ของไหลอุดมคติจะมีการไหลสม่ำ�เสมอ ไม่หมุน ไม่คำ�นึงถึงความหนืด และไม่สามารถถูกอัดได้ ในการเคลื่อนที่ของของไหลอุดมคติอธิบาย โดยสมการความต่อเนื่อง ซึ่งสัมพันธ์กับ อัตราเร็วของของไหลกับพื้นที่หน้าตัดที่ ของไหลเคลื่อนที่ผ่าน ที่ตำ�แหน่งใดๆ 2. สมการแบร์นูลลีเป็นสมการที่ใช้ในการอธิบาย การไหลของของไหล ซึ่งเกี่ยวข้องกับความดัน พลังงานจลน์ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และ พลังงานศักย์โน้มถ่วงต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร 3. หลักการทำ�งานของอุปกรณ์บางชนิด เช่น หัวฉีดท่อน้ำ�ดับเพลิง อุปกรณ์พ่นสี และ แรงยกปีกเครื่องบิน อธิบายโดย หลักการของ สมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี ด้านทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การใช้จำ�นวน (การใช้จำ�นวนในการหาปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี) 1. นำ�เข้าสู่บทเรียน โดยให้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติของของไหลอุดมคติ ของไหล อุดมคติมีการไหลสม่ำ�เสมอ ไม่คำ�นึงถึงความหนืดและไม่สามารถถูกอัดได้ จากนั้นให้ความรู้ว่า ในการศึกษาเบื้องต้นจะถือโดยประมาณว่าน้ำ�และ อากาศเป็นของไหลอุดมคติ 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับการไหลของของไหลอุดมคติ จากนั้นอภิปรายร่วมกัน เกี่ยวกับการไหลของน้ำ�ในท่อที่มีพื้นที่หน้าตัดต่างกัน จนสรุปได้ว่า อัตรา การไหลของของไหลอุดมคติที่ตำ�แหน่งใด ๆ ในท่อของการไหลอธิบาย ได้ด้วยสมการความต่อเนื่องตามสมการ 3. ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้กฎการอนุรักษ์พลังงานอธิบายของไหลที่เคลื่อนที่ ผ่านท่อจากตำ�แหน่งหนึ่งไปอีกตำ�แหน่งหนึ่งซึ่งอยู่ต่างระดับ โดยความดัน พลังงานจลน์ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร พลังงานศักย์โน้มถ่วงต่อหนึ่งหน่วย ปริมาตร มีความสัมพันธ์เป็นไปตามสมการแบร์นูลลี 4. ให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับการนำ�ความรู้เรื่องสมการความต่อเนื่องและ สมการแบร์นูลลีไปอธิบายหลักการทำ�งานของหัวฉีดท่อน้ำ�ดับเพลิง อุปกรณ์พ่นสี และแรงยกปีกเครื่องบิน นำ�เสนอผลและอภิปรายร่วมกัน 5. ยกตัวอย่างการคำ�นวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสมการ ความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี จากนั้นให้นักเรียนสรุป เพื่อตรวจสอบ ความรู้ความเข้าใจ ด้านความรู้ 1. ของไหลอุดมคติ อัตราการไหล สมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี จากการอภิปรายร่วมกัน จากแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ 2. การใช้สมการความต่อเนื่องและสมการแบร์นูลลี ไปใช้อธิบายหลักการทำ�งานของอุปกรณ์ต่าง ๆ จากการเขียนรายงาน ด้านทักษะ 1. การใช้จำ�นวน ในการหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับสมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี จากแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ อภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล 3. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� จากการอภิปรายร่วมกัน ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความรอบคอบ จากการเขียนรายงาน 2. ความอยากรู้อยากเห็น จากการอภิปรายร่วมกัน ผลการเรียนรู้ 6. อธิบายสมบัติของของไหลอุดมคติ สมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี รวมทั้งคำ�นวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและนำ�ความรู้เกี่ยวกับสมการ ความต่อเนื่องและสมการแบร์นูลลีไปอธิบายหลักการทำ�งานของอุปกรณ์ต่างๆ Q ลด =Q เพิ่ม F A , 0 L L , Y หรือ 0 / / LL AF Y g P gh 0 g P P P M.A. = W F B F Vg F l Av ค่าคงตัว 2 1 2 P v gh ค่าคงตัว PV nRT 2 2 1 3 2 2 3 k PV N mv PV NE A , 0 L , Y หรือ 0 / LL Y g P gh 0 g P P P M.A. = W F B F Vg F l Av ค่าคงตัว 2 1 2 P v gh ค่าคงั ว PV nRT 2 2 1 3 2 2 3 k PV N mv PV NE B PV Nk T 2 3 k PV NE กับ B PV Nk T 191 ฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4