คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. แรงพื้นฐานในธรรมชาติมีอยู่ 4 แรง คือ แรงอย่างเข้ม แรงอย่างอ่อน แรงแม่เหล็ก ไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง 2. นิวคลีออนยึดเหนี่ยวกันอยู่ได้ภายในนิวเคลียส เนื่องจากมีแรงนิวเคลียร์ ซึ่งเป็นแรงยึดพิสัยใกล้ ที่มีค่ามากกว่าแรงไฟฟ้า แรงนิวเคลียร์ จัดเป็นแรงอย่างเข้ม ส่วนแรงที่ใช้อธิบาย การสลายให้อนุภาคบีตาของนิวเคลียส กัมมันตรังสีจัดเป็นแรงอย่างอ่อน 3. กัมมันตภาพเกิดจากความไม่เสถียรของ นิวเคลียสของธาตุ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ สัดส่วนของจำ�นวนโปรตอนต่อจำ�นวน นิวตรอนในนิวเคลียส 4. แรงนิวเคลียร์นำ�ไปใช้อธิบายสาเหตุที่ทำ�ให้ สัดส่วนของจำ�นวนโปรตอนต่อจำ�นวนนิวตรอน ของนิวเคลียสมีผลต่อความไม่เสถียรของ นิวเคลียส 5. พลังงานยึดเหนี่ยวเป็นพลังงานที่ยึดนิวคลีออน ในนิวเคลียสให้อยู่ด้วยกัน ซึ่งมีความสัมพันธ์ กับมวลพร่อง 6. นิวเคลียสที่มีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน มากจะมีเสถียรภาพสูงกว่านิวเคลียสที่มี พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนน้อย 1. นำ�เข้าสู่บทเรียน โดยตั้งคำ�ตามเกี่ยวกับแรงพื้นฐานที่มีในธรรมชาติ อภิปรายร่วมกันและนำ�เสนอผล 2. ตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับสาเหตุที่มีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี อภิปรายร่วมกัน และนำ�เสนอผล 3. ให้ความรู้เกี่ยวกับนิวเคลียสของธาตุจากธาตุเบาไปหาธาตุหนัก ว่าเกี่ยวข้อง กับสัดส่วนระหว่างจำ�นวนนิวตรอนกับจำ�นวนโปรตอนอย่างไร จากนั้นให้ นักเรียนวิเคราะห์กราฟระหว่างจำ�นวนนิวตรอนและจำ�นวนโปรตอนของ นิวเคลียสต่าง ๆ อภิปรายร่วมกัน จนสรุปได้ว่า สัดส่วนของจำ�นวนโปรตอน ต่อจำ�นวนนิวตรอนมีผลต่อเสถียรภาพของนิวเคลียส 4. ตั้งคำ�ถาม ทำ�ไมโปรตอนถึงอยู่ร่วมกันในนิวเคลียสได้ ทั้ง ๆ ที่มีแรงไฟฟ้า ผลักกัน อภิปรายร่วมกัน จนสรุปได้ว่าต้องมีแรงอื่นยึดโปรตอนเหล่านั้น ไว้ด้วยกัน ให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับ แรงนิวเคลียร์ แรงอย่างเข้มและ แรงอย่างอ่อน จากนั้นนำ�เสนอผลและอภิปรายร่วมกัน 5. ให้ความรู้เกี่ยวกับผลของแรงนิวเคลียร์ จำ�นวนโปรตอน และจำ�นวน นิวตรอนที่มีต่อเสถียรภาพของนิวเคลียส และการแยกนิวคลีออนใน นิวเคลียสออกจากกันทำ�ได้โดยให้พลังงานเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยวของ นิวเคลียส ซึ่งมีความสัมพันธ์กับมวลพร่อง ตามสมการ คือ มวลรวมของนิวคลีออนทั้งหมดลบด้วยมวลของนิวเคลียส 6. ให้ความรู้เกี่ยวกับพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน สามารถใช้อธิบาย เสถียรภาพของนิวเคลียสได้ มีความสัมพันธ์ ตามสมการ ด้านความรู้ แรงพื้นฐานในธรรมชาติ ความไม่เสถียรของนิวเคลียส พลังงานยึดเหนี่ยว และพลังงานยึดเหนี่ยวต่อ นิวคลีออน จากการอภิปรายร่วมกัน แบบฝึกหัดและ แบบทดสอบ ด้านทักษะ 1. การตีความหมายของข้อมูลและลงข้อสรุป จากการ วิเคราะห์และการอภิปรายกราฟ 2. การใช้จำ�นวน ในการหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ พลังงานยึดเหนี่ยวและพลังงานยึดเหนี่ยวต่อ นิวคลีออน จากแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ ความอยากรู้อยากเห็นและความมีเหตุผล จากการ อภิปรายร่วมกัน ผลการเรียนรู้ 15. อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของนิวเคลียส และพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทั้งคำ�นวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง N A   t eN N    0  2ln 2 1  T 2 ( ) E m c   A cm A E 2 ) (   N A   t eN N    0  2ln 2 1  T 2 ( ) E m c   A cm A E 2 ) (   N A   t eN N    0  2ln 2 1  T 2 ( ) E m c   A cm A E 2 ) (   206

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4