คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (การวิเคราะห์และการอภิปรายกราฟ) 2. การใช้จำ�นวน (ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ พลังงานยึดเหนี่ยวและพลังงานยึดเหนี่ยว ต่อนิวคลีออน) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 - ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความอยากรู้อยากเห็น 2. ความมีเหตุผล 7. ให้นักเรียนวิเคราะห์กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเลขมวลกับพลังงาน ยึดหนี่ยวต่อนิวคลีออน จากนั้นอภิปรายร่วมกันจนได้ข้อสรุปว่า นิวเคลียส ที่มีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนสูงจะมีเสถียรภาพมากกว่านิวเคลียส ที่มีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนต่ำ� 8. ยกตัวอย่างการคำ�นวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ พลังงานยึดเหนี่ยว และพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน จากนั้นให้นักเรียนสรุป เพื่อตรวจสอบ ความรู้ความเข้าใจ 207 ฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4