คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. รังสีจากการสลายของธาตุกัมมันตรังสี นำ�ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้าน การแพทย์ การเกษตร โบราณคดี อุตสาหกรรม 2. เมื่อร่างกายได้รับรังสีในปริมาณที่มากเกินไป จะทำ�ให้เกิดอาการผิดปกติ 3. การป้องกันอันตรายจากรังสี สามารถกระทำ�ได้ หลายแนวทาง เช่น การลดช่วงเวลาของการ ได้รับรังสี การหลีกเลี่ยงแหล่งกำ�เนิดรังสี และ การใช้วัสดุกำ�บังรังสี ด้านทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ (มีการอ้างอิงแหล่งที่มาและการเปรียบเทียบ ความถูกต้องของข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ที่ห ล า ก ห ล า ย ไ ด้ อ ย่ า ง ส ม เ หตุ ส ม ผ ล การอภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล) 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (จากการแสดงการประเมินความน่าเชื่อถือ ของที่มาของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น และ การเปรียบเทียบประโยชน์และอันตรายที่ ได้รับจากรังสี) 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนเกี่ยวกับรังสีที่ถูกปล่อยจากธาตุกัมมันตรังสี จากนั้นให้นักเรียนยกตัวอย่างเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้กัมมันตภาพรังสี ในชีวิตประจำ�วัน 2. ให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้กัมมันตภาพรังสี จากนั้น นำ�เสนอผลและอภิปรายร่วมกัน 3. ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการทำ�งานของเครื่องวัดรังสี วิธีการวัด และหน่วย ที่ใช้ในการวัด จากการสาธิตหรือวีดิทัศน์ 4. ให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับอันตรายจากรังสี ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อร่างกาย สิ่งแวดล้อมและการป้องกันอันตรายจากรังสี จากนั้นนำ�เสนอผลและ อภิปรายร่วมกัน ด้านความรู้ ประโยชน์ อันตราย และการป้องกันรังสี จากการ อภิปรายร่วมกัน ด้านทักษะ การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ และการคิด อย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการ อภิปรายร่วมกันและการนำ�เสนอผล ด้านจิตวิทยาศาสตร์ ความอยากรู้อยากเห็น ความมีเหตุผล และการเห็น คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ จากการอภิปรายร่วมกัน ผลการเรียนรู้ 17. อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์และรังสี รวมทั้งอันตรายและการป้องกันรังสีในด้านต่างๆ 210

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4