คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ 18 ผลการเรียนรู้ ชั้น สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๓. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำ�แหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของ การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหา ค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก และคำ�นวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง - การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมีความคลาดเคลื่อนเสมอขึ้นอยู่กับเครื่องมือ วิธีการวัด และ ประสบการณ์ของผู้วัด ซึ่งค่าความคลาดเคลื่อนสามารถแสดงในการรายงานผลทั้งในรูปแบบ ตัวเลขและกราฟ - การวัดควรเลือกใช้เครื่องมือวัดให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด เช่นการวัดความยาวของ วัตถุที่ต้องการความละเอียดสูงอาจใช้เวอร์เนียร์แคลลิเปิร์ส หรือไมโครมิเตอร์ - ฟิสิกส์อาศัยคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้า และการสื่อสาร - ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ตำ�แหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง โดยความเร็วและความเร่งมีทั้งค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำ�หรับปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงตัวมีความสัมพันธ์ตามสมการ - การอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุสามารถเขียนอยู่ในรูปกราฟตำ�แหน่งกับเวลา กราฟความเร็วกับเวลาหรือกราฟความเร่งกับเวลา ความชันของเส้นกราฟตำ�แหน่งกับเวลา เป็นความเร็ว ความชันของเส้นกราฟความเร็วกับเวลาเป็นความเร่ง และพื้นที่ใต้เส้นกราฟ ความเร็วกับเวลาเป็นการกระจัด ในกรณีที่ผู้สังเกตมีความเร็ว ความเร็วของวัตถุที่สังเกต ได้เป็นความเร็วที่เทียบกับผู้สังเกต - การตกอย่างเสรีเป็นตัวอย่างหนึ่งของการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติที่มีความเร่งเท่ากับความ เร่งโน้มถ่วงของโลก = v u at = 2 u v x t 2 1 = 2 x ut at 2 2 = 2 v u a x 1 n i i F ma 1 2 G 2 = m m F G R = v u at = 2 u v x t 2 1 = 2 x ut at 2 2 = 2 v u a x 1 n i i F ma 1 2 G 2 = m m F G R = v u at = 2 u v x t 2 1 = 2 x ut at 2 2 = 2 v u a x 1 n i i F ma 1 2 G 2 = m m F G R = v u at = 2 u v x t 2 1 = 2 x ut at 2 2 = 2 v u a x 1 n i i F ma 1 2 G 2 = m m F G R
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4