คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ 19 ผลการเรียนรู้ ชั้น สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม - แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์จึงมีทั้งขนาดและทิศทาง กรณีที่มีแรงหลาย ๆ แรงกระทำ�ต่อวัตถุ สามารถหาแรงลัพธ์ที่กระทำ�ต่อวัตถุโดยใช้วิธีเขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหางต่อหัว วิธีสร้าง รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานของแรงและวิธีคำ�นวณ - สมบัติของวัตถุที่ต้านการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ เรียกว่า ความเฉื่อย มวลเป็นปริมาณ ที่บอกให้ทราบว่าวัตถุใดมีความเฉื่อยมากหรือน้อย - การหาแรงลัพธ์ที่กระทำ�ต่อวัตถุสามารถเขียนเป็นแผนภาพของแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุอิสระได้ - กรณีที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ� วัตถุจะไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ซึ่งเป็นไปตามกฎ การเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน - กรณีที่มีแรงภายนอกมากระทำ�โดยแรงลัพธ์ที่กระทำ�ต่อวัตถุไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะมีความเร่ง โดยความเร่งมีทิศทางเดียวกับแรงลัพธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์ มวลและความเร่ง เขียนแทนได้ด้วย - แรงดึงดูดระหว่างมวลเป็นแรงที่มวลสองก้อนดึงดูดซึ่งกันและกันด้วยแรงขนาดเท่ากัน แต่ทิศทางตรงข้าม และเป็นไปตามกฎความโน้มถ่วงสากล เขียนแทนได้ด้วยสมการ - รอบโลกมีสนามโน้มถ่วงทำ�ให้เกิดแรงโน้มถ่วง ซึ่งเป็นแรงดึงดูดของโลกที่กระทำ�ต่อวัตถุ ทำ�ให้วัตถุมีน้ำ�หนัก - เมื่อวัตถุสองก้อนออกแรงกระทำ�ต่อกัน แรงระหว่างวัตถุทั้งสองจะมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทาง ตรงข้ามและกระทำ�ต่อวัตถุคนละก้อน เรียกว่า แรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา ซึ่งเป็นไปตามกฎ การเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน และเกิดขึ้นได้ทั้งกรณีที่วัตถุทั้งสองสัมผัสกันหรือไม่สัมผัส กันก็ได้ สมการ ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน ๔. อธิบายแรงและผลของแรงลัพธ์ที่มีต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ รวมทั้งทดลองหาแรงลัพธ์ ของแรงสองแรงที่ทำ�มุมต่อกัน ๕. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุอิสระ ทดลองและอธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และการใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ รวมทั้งคำ�นวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๖. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำ�ให้วัตถุมีน้ำ�หนัก รวมทั้งคำ�นวณ ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง = v u at = 2 u v x t 2 1 = 2 x ut at 2 2 = 2 v u a x 1 n i i F ma 1 2 G 2 = m m F G R s s f N k k f N n = v u at = 2 u v x t 2 1 = 2 x ut at 2 2 = 2 v u a x 1 n i i F ma 1 2 G 2 = m m F G R s s f N
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4